Page 21 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 21
ปลายี่สกเทศ ปลาโรฮ ู
ชื่อสามัญ Rohu
์
ชื่อวิทยาศาสตร Labeo rohita (Hamilton, 1822)
็
ิ
ลักษณะทั่วไป: รูปร่างล้าตัวทรงกระบอก ส่วนหัวสั้น ปากเลก มีหนวดสน 2 ค รม
ั้
ู่
่
ี
ฝีปากเป็นชายครุยเล็กน้อย และมีแผ่นขอบแข็งทั้งริมฝปากบนและลาง มี
้
เกล็ดเล็กตามแนวเส้นข้างตัว ปรับตัวไดดีในประเทศไทย ในแหลงน้้านิ่งแต ่
่
จะไม่วางไข่ อาศัยในระดับกลางน้้าถึงพื้นท้องน้้าโดยใช้ปากแทะเล็มพืชและ
ั้
สัตว์ขนาดเล็กที่เกาะติดรวมทงอินทรีย์สาร
การใช้ประโยชน์: เลี้ยงเป็นปลาเพื่อบริโภค ท้าปลาส้มได้ด ี
ขนาดใหญ่ที่สุด: 100 เซนติเมตร พบทั่วไป 60-80 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์: ปากีสถาน แม่น้้าคงคาถึงพม่าตะวันตกและเนปาล ถูกน้าเข้ามาจาก
อินเดียเมื่อปี พ.ศ. 2511 เพื่อเลี้ยงเป็นอาหาร และเลี้ยงอย่างแพร่หลายทั่ว
ประเทศ มีการปล่อยลูกปลาขนาดเล็กลงสู่แหล่งน้้าธรรมชาตเพื่อเพิ่มอาหาร
ิ
ิ
ื่
โปรตีนให้แก่ชาวบ้าน มีการน้ามาปล่อยลงสู่แหล่งน้้าธรรมชาตเพอเพมพน
ู
ิ่
อาหารโปรตีน
อาหารธรรมชาติ: เป็นปลาที่ปรับตัวง่าย กินพืชเป็นหลัก ปรับตัวกินอาหารเม็ด และ
สามารถกินอาหารชนิดอื่นได้เช่นกัน
สถานภาพ: เป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีการเพาะเลี้ยงในประเทศไทยยังไม่พบรายงานการ
รุกรานของปลาชนิดนี้ เป็นปลาชนิดหลักของการเลี้ยงบนพื้นที่สูง
17 การเพาะเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง