Page 23 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 23

ปลาไน
            ชื่อสามัญ Common carp
                        ์
            ชื่อวิทยาศาสตร Cyprinus carpio Linnaeus, 1758
















            ลักษณะทั่วไป: มีรูปร่างป้อมแบนข้างเล็กน้อย ส่วนหัวลาด มีปากเล็กและหนวดสั้น ๆ
                    2 คู่ ครีบหลังค่อนข้างยาวมีจ้านวนก้านครีบมาก ครบหางเวาแฉกลก มีส ี
                                                                     ึ
                                                         ี
                                                                ้
                                                             ้
                                                                         ั้
                                                                ิ
                    คล้้าอมน้้าตาลทองหรือน้้าตาลอ่อน ท้องสีจาง บางตัวมีสีสม กนอาหารทง
                                                                     ็
                                                              ้
                    พืชและสัตว์ แต่ส่วนมากจะกินพืชและอินทรียวัตถุตามพื้นทองน้้าเปนหลก
                                                                         ั
                    วางไข่ได้ตลอดปีเป็นไข่ติดวัสดุใต้น้้า เป็นปลาชนิดเดียวกับปลาคารฟ ซงคด
                                                                   ์
                                                                       ึ่
                                                                         ั
                    พันธุ์มาจากปลาไน แต่มีสีสันไม่สวยนัก จึงเลี้ยงเพื่อเป็นปลาเนื้อ สามารถ
                    เลี้ยงได้บนพื้นที่สูงและสามารถทนต่ออุณหภูมิต่้าได้เป็นอย่างด  ี
            การใช้ประโยชน์: เลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้ เลี้ยงเป็นปลาเพื่อบริโภค
            ขนาดใหญ่ที่สุด: 60 เซนติเมตร พบทั่วไป 20-30 เซนติเมตร
                                                                        ี
                                                                      ี
                                        ั้
            การกระจายพันธุ์: มีการกระจายพันธุ์ดงเดิมในตอนกลางของจีน แม่น้้าแยงซเกยง
                    ฮวงโห ถึงประเทศญี่ปุ่น แต่ถูกน้าไปเลี้ยงที่ต่าง ๆ ทั่วโลก ประเทศไทยได ้
                    น้าเข้ามาเลี้ยง พ.ศ. 2455 ในนามว่าปลาหลีฮื้อ
            ถิ่นอาศัย: ปรับตัวอาศัยอยู่ในแหล่งน้้าที่ไหลและน้้านิ่งได้เป็นอย่างดี
            อาหารธรรมชาติ: กินพืชเป็นหลัก และสามารถกินอาหารชนิดอื่นได้เช่นกัน
                                                             ั
            สถานภาพ: เป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีการเพาะเลี้ยงในประเทศไทย ยงไม่พบวามีการ
                                                                    ่
                    รุกราน เป็นปลาชนิดหลักของการเลี้ยงบนพื้นที่สูง
                                      19                        การเพาะเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28