Page 5 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 3
P. 5

Home  Ward  ที่มีรูปแบบการตรวจการพยาบาลที่บ้าน  (Supervise
           Nurse Home Ward) เพื่อควบคุมก�ากับและดูแลการปฏิบัติการพยาบาล

           ให้ถูกต้องตามมาตรฐานการพยาบาลของศูนย์บริการสาธารณสุข
           เป็นต้น
                  3.  สาธารณสุขมูลฐานและเครือข่ายสุขภาพ เป็นการส่งเสริม

           การมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในการดูแล
           สุขภาพตนเอง  ครอบครัว  ชุมชน  เน้นการด�าเนินการสาธารณสุข
           มูลฐานเป็นส�าคัญ เช่น มีศูนย์สุขภาพชุมชนเป็นสถานที่ให้บริการ
           สาธารณสุขขั้นพื้นฐาน จัดให้มีอาสาสมัครสาธารณสุข ท�าหน้าที่
           ให้ค�าปรึกษาแนะน�า  เผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพ  การเฝ้าระวัง

           ภาวะโภชนาการในเด็กและผู้ใหญ่การเฝ้าระวังโรคติดต่อในชุมชน
           การคัดกรองภาวะความเจ็บป่วย เป็นต้น
                  4.  ป้องกัน บ�าบัดรักษา และฟื้นฟูการติดยาเสพติดและสารเสพติด ในเด็ก เยาวชน และประชาชน

           ในชุมชน  โรงเรียนและสถานประกอบการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร  โดยการประสานความร่วมมือและบูรณาการ
           การท�างานร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
                  5.  สนับสนุนระบบบริการสุขภาพ  เป็นการจัดระบบสนับสนุนบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข
           ของส�านักอนามัยที่มีประสิทธิภาพ  เช่น  ระบบสนับสนุนกลางในการจัดหายาเวชภัณฑ์  การตรวจวิเคราะห์ทาง
           ห้องปฏิบัติการ การสร้างเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน การให้การสงเคราะห์ทางด้านสาธารณสุขแก่ผู้ที่มีปัญหา

           ทางสุขภาพ หรือได้รับผลกระทบจากปัญหาสุขภาพ เป็นต้น
                  6.  สุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดล้อม  เป็น
           การส่งเสริมให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ปราศจาก

           เชื้อโรค สารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ รวมทั้งส่งเสริมอนามัย
           สิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ อาคารสาธารณะ และในชุมชนให้
           ถูกสุขลักษณะ
                  7.  นโยบายและบริหารจัดการ  มีระบบบริหารทรัพยากร
           บุคคลที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส มีมาตรฐาน และสนับสนุนการบริหารงาน

           ส่วนกลางให้แก่หน่วยงานต่างๆ


                      ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานครให้ความส�าคัญและมุ่งมั่นในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
               ให้แก่ประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร  โดยเน้นการบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาพ  ป้องกัน
               ควบคุมโรคของทุกภาคส่วนทั้งเชิงรับและเชิงรุก พัฒนาและเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการ

               ทางการแพทย์และสาธารณสุข ควบคู่กับการพัฒนาระบบการสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม
               เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะทางด้านร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์แข็งแรง มีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืน
               และอยู่อย่างมีความสุขในมหานครแห่งนี้
                                                                  บทสัมภาษณ์โดย  ทรงพร วิทยานันท์
                                                                             นักวิชาการสาธารณสุขช�านาญการ
                                                                             ส�านักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
                                                                             ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร

                                                                                      วารสารสุขภาพ    5
                                                                                        ส�านักอนามัย
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10