Page 29 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2
P. 29
ค�าถามนี้... มีค�าตอบ
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ
Q จ�าเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ทุกวัน จะป้องกันอันตราย นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน)
ผู้อ�านวยการศูนย์บริการสาธารณสุข 56 ทับเจริญ
ที่เกิดกับดวงตาได้อย่างไร ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร
A การใช้คอมพิวเตอร์หรือสมาร์ทโฟน เป็นเวลานานๆ มียาตัวใหม่ๆ ทั้งยารับประทานและยาฉีด ซึ่งได้
จะมีปัญหาตาแห้ง เนื่องจากกระพริบตาน้อยลง และ ผลดีและมีอาการข้างเคียงน้อย แต่สิ่งที่ขาดไม่ได้
กล้ามเนื้อตาล้าจากการเพ่งมองใกล้ๆ เป็นเวลานาน คือการออกก�าลังกายให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น
ดังนั้นควรพักสายตาเป็นระยะโดยการหลับตา หรือ เพิ่มการทรงตัว เพื่อป้องกันการหกล้ม ง่ายที่สุดคือ
มองไกลๆ กรณีมีตาแห้ง เคืองตา ให้หยอดน�้าตาเทียม การเดินทางราบ วันละ 20-30 นาที ประกอบกับ
ร่วมด้วยได้ครับ การสร้างกล้ามเนื้อหลัง ขาและ สะโพก โดยการฝึก
Q ตาแห้ง จะท�าให้ตาบอดได้หรือเปล่า แขม่วท้องและยืนจับเก้าอี้เขย่งยืนด้วยปลายเท้า
และบริหารสะโพก ดังรูป
A ตาแห้งโดยทั่วไปไม่ท�าให้ตาบอด ยกเว้นในรายที่ตา
แห้งมากๆ จนท�าให้กระจกตาด�าอักเสบเป็นแผล
จึงจะท�าให้ตาบอดได้ ดังนั้นอย่าชะล่าใจ ถ้าอาการ
ไม่ดีขึ้น ควรรีบปรึกษาจักษุแพทย์ครับ
Q การกินแคลเซียมเสี่ยงต่อโรคหัวใจหรือไม่
A เคยมีการศึกษาในต่างประเทศพบว่า ถ้ากินแคลเซียม
เสริม อาจมีผลท�าให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจสูงขึ้น
ในเพศชาย แต่การศึกษายังไม่สรุปชัดเจนเพราะ
การเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ มีหลายปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
เช่น ความดันโลหิต ระดับไขมันในเลือด โรคเบาหวาน
การสูบบุหรี่ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แคลเซียมตาม
ธรรมชาติในอาหาร เช่น นม ธัญพืช เต้าหู้แข็ง
ปลาตัวเล็กตัวน้อย ผักใบเขียว ยังเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ Q ออกก�าลังกายอย่างไร ไม่ให้เสี่ยงเป็นข้อเข่าเสื่อม
และไม่มีโทษ ดังนั้น ควรรับประทานอาหารที่มี A ต้องเข้าใจก่อนว่าการออกก�าลังกายโดยทั่วไปนั้น
แคลเซียมสูงเป็นหลัก ออกก�าลังกาย รับแสงแดด ไม่ท�าให้ข้อเข่าเสื่อม แต่เข่าเสื่อม เกิดจากการสึก
เป็นประจ�า ถ้าตรวจพบว่ากระดูกบาง หรือพรุน ของข้อตามอายุ และการใช้งาน เช่น น�้าหนักตัวมาก
ควรพบแพทย์เพื่อประเมินประโยชน์และโทษของ ยกของหนัก ขึ้นลงบันไดบ่อยๆ นั่งงอเข่า นั่งยองๆ
การรับประทานแคลเซียมเสริม จะดีกว่าครับ หรือวิ่งบนพื้นขรุขระ กรณีเข่าเสื่อมไปแล้วจ�าเป็นต้อง
Q มีข้อแนะน�าส�าหรับผู้ป่วยโรคกระดูกพรุนที่อยาก ลดแรงที่กระแทกเข่า แนะน�าการเตะเหยียดขา
จะออกก�าลังกายอย่างไร เดินในน�้า เดินพื้นราบ หรือถ้าต้องการปั่นจักรยาน
A ผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์มวลกระดูกแล้ว ก็ต้องปรับที่นั่งเพื่อให้จังหวะที่ปั่นขา เข่าไม่งอจนเกินไป
พบว่าเป็นโรคกระดูกพรุน ควรพบแพทย์เพื่อรักษา สังเกตง่ายๆ คือถ้าออกก�าลังกายแล้วไม่ปวดเข่า
อย่างต่อเนื่อง ซึ่งการรักษาโรคกระดูกพรุนก้าวหน้ามาก แสดงว่าไม่เป็นอันตรายต่อข้อเข่าครับ
วารสารสุขภาพ 29
ส�านักอนามัย