Page 24 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2
P. 24
ถอดรหัส สัตว์เลี้ยง
บริโภคเนื้อสัตว์ปลอดภัย
ด้วยแอพ
“SCAN ME AT BMA”
น.สพ.ภัทรพงศ์ จันทร์เจริญ
นายสัตวแพทย์ช�านาญการ
ส�านักงานสัตวแพทย์สาธารณสุข
ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร
เนื้อสัตว์ เป็นอาหารที่ถูกบริโภคเป็นจ�านวนมากในแต่ละวัน แต่รู้หรือไม่ว่า เนื้อสัตว์ที่เราบริโภคเข้าไป
ในร่างกายนั้นมาจากไหน สะอาดปลอดภัยเพียงพอหรือไม่ ในเนื้อสัตว์อาจมีสิ่งปนเปื้อนต่างๆ ที่เป็นอันตราย
ได้แก่ ฝุ่นผง ยาปฏิชีวนะ สารเร่งเนื้อแดง ฟอร์มาลีน พยาธิ เชื้อโรคต่างๆ ซึ่งการปรุงอาหารด้วยความร้อน
บางครั้งไม่อาจท�าลายสิ่งปนเปื้อนในเนื้อสัตว์ได้ทั้งหมด ดังนั้นหากผู้บริโภคทราบถึงแหล่งที่มาของเนื้อสัตว์
ก็จะสร้างความเชื่อมั่นส�าหรับการเลือกซื้อเนื้อสัตว์ว่ามีความปลอดภัย และมีการผลิตได้มาตรฐาน
กรุงเทพมหานครเป็นปลายทางของตลาดค้า
ปศุสัตว์ที่น�ามาผลิตเป็นอาหารที่ใหญ่ที่สุด จึงมีความเสี่ยง
ต่อการเป็นแหล่งรวมและแพร่กระจายโรคเป็นอย่างยิ่ง
ฉะนั้นจึงจ�าเป็นต้องตรวจสอบย้อนกลับเนื้อสัตว์ตั้งแต่
โรงฆ่าสัตว์ไปถึงฟาร์มสัตว์ได้ และเป็นมาตรการป้องกัน
โรค โดยประสานข้อมูลไปยังต้นทางแหล่งปศุสัตว์ได้ทัน
ท่วงที ส�านักงานสัตวแพทย์สาธารณสุข ส�านักอนามัย
จึงได้จัดท�าโครงการ “SCAN ME” เพื่อสร้างเครือข่าย
ในการพัฒนาคุณภาพเนื้อสัตว์ให้มีสะอาดและปลอดภัย
และเชิญผู้ประกอบการโรงฆ่าสัตว์ และผู้ประกอบการ
จ�าหน่ายเนื้อสัตว์ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เข้าร่วม โครงการฯ ได้ผ่านทางมือถือ (Smart Phone) และผ่าน
โครงการฯ โดยให้เจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจประเมินโรงฆ่าสัตว์ ทางเว็บไซต์ www.thaitrace.net
และสถานที่จ�าหน่ายเนื้อสัตว์ และผู้เข้าร่วมโครงการ ปัจจุบันผู้เข้าร่วมโครงการ Scan Me แบ่งเป็น
จัดส่งข้อมูลการผลิตและแหล่งที่มาของเนื้อสัตว์เข้าสู่ 2 ส่วน ได้แก่ ผู้ประกอบการโรงฆ่าสัตว์มีจ�านวน 11 ราย
ระบบฯ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบข้อมูลเนื้อสัตว์ได้ ผู้ประกอบการตลาดสดมีจ�านวน 10 ราย (ดังภาพที่ 1)
นอกจากนี้ยังจัดท�าโมบายแอพพลิเคชั่น Scan Me at ซึ่งผู้จ�าหน่ายเนื้อสัตว์ที่ผ่านเกณฑ์การตรวจประเมิน
BMA เพื่อเป็นเครื่องมืออ�านวยความสะดวกส�าหรับให้ จะได้รับป้าย “Scan Me” (ดังภาพที่ 2) ไปติดตั้ง
ผู้บริโภคตรวจสอบแหล่งที่มาของเนื้อสัตว์ที่เข้าร่วม ณ จุดจ�าหน่ายเนื้อสัตว์
24 วารสารสุขภาพ
ส�านักอนามัย