Page 15 - teachingscope2561_Neat
P. 15

๑๓


                      ขอบข่ายการเรียนการสอน และการออกข้อสอบธรรมศึกษา


                         วิชาวินัย (เบญจศีล-เบญจธรรม, อุโบสถศีล, กรรมบถ)





                    ธรรมศึกษาชั้นตรี                  ธรรมศึกษาชั้นโท                  ธรรมศึกษาชั้นเอก

                    ระดับประถมศึกษา                  ระดับประถมศึกษา                   ระดับประถมศึกษา

                       (ธศ ๑๑๔)                          (ธศ ๑๒๔)                         (ธศ ๑๓๔)

             บทที่ ๑ ว่าด้วยวินัย             บทที่ ๑ ว่าด้วยอุโบสถ             บทที่ ๑ ว่าด้วยกรรมบถ

              ๑. ระเบียบวินัย                  ๑. ความหมายของอุโบสถ              ๑. ความหมายของกรรมบถ
              ๒. ศีลเป็นแม่บทของวินัย          ๒. ความเป็นมาของอุโบสถ            ๒. กรรมบถ ๒ อย่าง

              ๓. ความหมายของศีล                ๓. ความมุ่งหมายในการรักษา         ๓. กรรมบถ ๒ อย่างให้ผลต่างกัน

              ๔. ศีลคือการรักษาปกติของมนุษย์       อุโบสถ                       บทที่ ๒ ว่าด้วยอกุศลกรรมบถ

              ๕. ความมุ่งหมายในการรักษาศีล   ๔. อุโบสถ ๓ ประเภท                  ๑. ความหมายของอกุศลกรรมบถ

             บทที่ ๒ ว่าด้วยเบญจศีล                 - ปกติอุโบสถ                 ๒. อกุศลกรรมบถ ๑๐

              ๑. เบญจศีล ๕ สิกขาบท                  - ปฏิชาครอุโบสถ              ๓. อธิบายอกุศลกรรมบถ ๑๐

              ๒. อธิบายเบญจศีล ๕ สิกขาบท         - ปาฏิหาริยอุโบสถ               ๔. การให้ผลของอกุศลกรรมบถ ๑๐

                  ข้อที่ ๑ เว้นการฆ่าสัตว์    บทที่ ๒ ว่าด้วยอุโบสถศีล          บทที่ ๓ ว่าด้วยกุศลกรรมบถ

                  ข้อที่ ๒ เว้นการลักทรัพย์    ๑. องค์ประกอบของอุโบสถศีล    ๑. ความหมายของกุศลกรรมบถ

                  ข้อที่ ๓ เว้นการประพฤติผิด         - พระรัตนตรัย               ๒. กุศลกรรมบถ ๑๐

                         ในกาม                      - การเข้าถึงพระรัตนตรัย      ๓. อธิบายกุศลกรรมบถ ๑๐

                  ข้อที่ ๔ เว้นการพูดเท็จ           - อุโบสถศีล ๘ สิกขาบท        ๔. การให้ผลของกุศลกรรมบถ ๑๐

                  ข้อที่ ๕ เว้นการดื่มสุราเมรัย    ๒. ข ้อควรเว้นขณะรักษาอุโบสถ

             บทที่ ๓ ว่าด้วยอานิสงส์           ๓. ข้อควรปฏิบัติขณะรักษาอุโบสถ

             ของเบญจศีล                       บทที่ ๓ ว่าด้วยอานิสงส์ของอุโบสถ

              ๑. ประโยชน์ของการรักษาศีล ๕    ๑. โคปาลกอุโบสถ

                   - ผลต่อตนเอง                ๒. นิคคัณฐอุโบสถ
                   - ผลต่อสังคม                ๓. อริยอุโบสถ

              ๒. อานิสงส์ของการรักษาศีล ๕

                   - ถึงสุคติได้ด้วยศีล

                   - มีโภคสมบัติได้ด้วยศีล

                   - บรรลุนิพพานได้ด้วยศีล
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20