Page 17 - teachingscope2561_Neat
P. 17

๑๕


                      ขอบข่ายการเรียนการสอน และการออกข้อสอบธรรมศึกษา



                                                      วิชากระทู้



                   ธรรมศึกษาชั้นตรี                    ธรรมศึกษาชั้นโท                    ธรรมศึกษาชั้นเอก

                   ระดับมัธยมศึกษา                     ระดับมัธยมศึกษา                    ระดับมัธยมศึกษา

                      (ธศ ๒๑๑)                            (ธศ ๒๒๑)                           (ธศ ๒๓๑)

          ๑. ปาปวรรค คือ หมวดบาป              ๑. อัตตวรรค คือ หมวดตน             ๑. กัมมวรรค คือ หมวดกรรม

          ๑. ทุกฺโข  ปาปสฺส  อุจฺจโย.         ๑.อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน    พหุนาปิ น หาปเย   ๑.อุฏฺฐาตา กมฺมเธยฺเยสุ  อปฺปมตฺโต วิจกฺขโณ
            ความสั่งสมบาป นําทุกข์มาให้.        อตฺตทตฺถมภิญฺญาย    สทตฺถปสุโต สิยา.      สุสํวิหิตกมฺมนฺโต       ส ราชวสตึ วเส.

            ขุ. ธ. ๒๕/๓๐.                       บุคคลไม่ควรพล่าประโยชน์ของตน       ผู้หมั่นในการงาน  ไม่ประมาท  เป็นผู้
                                              เพราะประโยชน์ผู้อื่นแม้มาก รู้จักประโยชน์ รอบคอบ  จัดการงานเรียบร้อย  จึงควร
          ๒. ปาปานํ  อกรณํ  สุขํ.
                                              ของตนแล้ว พึงขวนขวายในประโยชน์ของ อยู่ในราชการ.
            การไม่ทําบาป นําสุขมาให้.
                                              ตน.                                  (พุทฺธ)     ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๓๓๙.
             ขุ. ธ. ๒๕/๕๙.
                                                (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๓๗.
                                                                                 ๒.ปาปญฺเจ ปุริโส กยิรา  น นํ กยิรา ปุนปฺปุนํ
          ๓. นตฺถิ อการิยํ ปาปํ  มุสาวาทิสฺส ชนฺตุโน.
                                              ๒.อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา  ยถญฺญมนุสาสติ     น ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ  ทุกฺโข ปาปสฺส อุจจโย.
            คนมักพูดมุสา จะไม่พึงทําความชั่ว ย่อม
                                                สุทนฺโต วต ทเมถ    อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม.     ถ้าคนพึงทําบาป  ก็ไม่ควรทําบาปนั้น
          ไม่มี.
                                                ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทําตนฉันนั้น ผู้  บ่อยๆ  ไม่ควรทําความพอใจในบาปนั้น
           นัย-ขุ. ธ. ๒๕/๓๘., นัย-ขุ. อิติ. ๒๕/๒๔๓.
                                              ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่าตนแล  เพราะการสั่งสมบาป  นําทุกข์มาให้.
                                              ฝึกยาก.                              (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๓๐.
          ๒. กัมมวรรค คือ หมวดกรรม
                                                 (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๓๖.
          ๔. สานิ  กมฺมานิ  นยนฺติ  ทุคฺคตึ.
                                                                                 ๓.โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ   กตตฺโถ นาวพุชฺฌติ
            กรรมชั่วของตนเอง ย่อมนําไปสู่ทุคติ.
                                              ๓.อตฺตานเมว ปฐมํ   ปฏิรูเป นิเวสเย       ปจฺฉา กิจฺเจ สมุปฺปนฺเน  กตฺตารํ นาธิคจฺฉติ.
            ขุ. ธ. ๒๕/๔๗.                                                          ผู้อื่นทําความดีให้  ทําประโยชน์ให้ก่อน
                                                อถญฺญมนุสาเสยฺย  น กิลิสฺเสยฺย ปณฺฑิโต.
                                                                                 แต่ไม่สํานึกถึง (บุญคุณ)  เมื่อมีกิจเกิดขึ้น
                                                บัณฑิตพึงตั้งตนไว ้ในคุณอันสมควร
          ๕. อกตํ  ทุกฺกฏํ  เสยฺโย.
                                                                                 ภายหลัง  จะหาผู้ช่วยทําไม่ได้.
                                              ก่อน  สอนผู้อื่นภายหลังจึงไม่มัวหมอง.
            ความชั่ว ไม่ทําเสียเลยดีกว่า.
                                                                                   (โพธิสตฺต)     ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๙.
                                                 (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๓๖.
            สํ. ส. ๑๕/๖๘.,  ขุ. ธ. ๒๕/๕๖.
                                                                                 ๒. ธัมมวรรค คือ หมวดธรรม
                                              ๒. กัมมวรรค คือ หมวดกรรม
          ๖. กลฺยาณการี กลฺยาณํ  ปาปการี จ ปาปกํ.
                                                                                 ๔.โอวเทยฺยานุสาเสยฺย    อสพฺภา จ นิวารเย
                                              ๔.อติสีตํ อติอุณฺหํ      อติสายมิทํ อหุ
            ทําดีได้ดี ทําชั่วได้ชั่ว.
                                                อิติ วิสฺสฏฺฐกมฺมนฺเต  อตฺถา อจฺเจนฺติ มาณเว.      สตํ หิ โส ปิโย โหติ    อสตํ โหติ อปฺปิโย.
             สํ. ส. ๑๕/๓๓๓., ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๘๔.
                                                ประโยชน์ทั้งหลายย่อมล่วงเลยคนผู้     บุคคลควรเตือนกัน  ควรสอนกัน  และ
          ๗. กมฺมุนา  วตฺตตี  โลโก.           ทอดทิ้งการงาน ด้วยอ้างว่าหนาวนัก ร้อน  ป้องกันจากคนไม่ดี  เพราะเขาย่อมเป็นที่

            สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม.        นัก เย็นเสียแล้ว.                  รักของคนดี  แต่ไม่เป็นที่รักของคนไม่ดี.
            ม. ม. ๑๓/๖๔๘.,  ขุ. สุ. ๒๕/๔๕๗.      (พุทฺธ)     ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๙.      (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๒๕.
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22