Page 18 - teachingscope2561_Neat
P. 18

๑๖


          ๓. ปุญญวรรค คือ หมวดบุญ            ๕.ยาทิสํ วปเต พีชํ        ตาทิสํ ลภเต ผลํ  ๕.กาเมสุ พฺรหฺมจริยวา  วีตตณฺโห สทา สโต
          ๘. ปุญฺญํ  โจเรหิ  ทูหรํ.             กลฺยาณการี กลฺยาณํ   ปาปการี จ ปาปกํ.    สงฺขาย นิพฺพุโต ภิกฺขุ  ตสฺส โน สนฺติ อิญฺชิตา.

            บุญอันโจรนําไปไม่ได้.               บุคคลหว่านพืชเช่นใด  ย่อมได ้ผล    ภิกษุผู้เห็นโทษในกาม  มีความประพฤติ
            สํ. ส. ๑๕/๕๐.                     เช่นนั้น  ผู้ทํากรรมดี  ย่อมได้ผลดี  ผู้ทํา ประเสริฐ  ปราศจากตัณหา  มีสติทุกเมื่อ

                                              กรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว.            พิจารณาแล้ว  ดับกิเลสแล้ว  ย่อมไม่มี
          ๙. สุโข  ปุญฺญสฺส  อุจฺจโย.
                                                (พุทฺธ)     สํ. ส. ๑๕/๓๓๓.       ความหวั่นไหว.
            ความสั่งสมขึ้นซึ่งบุญ นําสุขมาให้.
                                                                                  (พุทฺธ)  ขุ. สุ. ๒๕/๕๓๑.,  ขุ. จู. ๓๐/๓๕.
            ขุ. ธ. ๒๕/๓๐.                     ๖.โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ  กตตฺโถ นาวพุชฺฌติ
                                                 อตฺถา ตสฺส ปลุชฺชนฺติ  เย โหนฺติ อภิปตฺถิตา.  ๖.ชิคจฺฉา ปรมา โรคา  สงฺขารา ปรมา ทุกฺขา
           ๑๐. ปุญฺญานิ ปรโลกสฺมึ  ปติฏฺฐา โหนฺติ
                                                ผู้ใด อันผู้อื่นทําความดี ทําประโยชน์ให้   เอตํ ญตฺวา ยถาภูตํ   นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ.
            ปาณินํ.
                                              ในกาลก่อน  แต่ไม่รู้สึก  (คุณของเขา)    ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง สังขารเป็นทุกข์
            บุญเป็นที่พึงของสัตว์ในโลกหน้า.
                                              ประโยชน์ที่ผู้นั้นปรารถนาย่อมฉิบหาย.   อย่างยิ่ง รู้ข้อนั้นตามเป็นจริงแล้ว ดับเสีย
            สํ. ส. ๑๕/๒๖., องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๔๔.,
                                                 (ทฬฺหธมฺมโพธิสตฺต)   ขุ. ชา. สตฺตก.   ได้ เป็นสุขอย่างยิ่ง.
            ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๒๙๔.
                                              ๒๗/๒๒๘.                              (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๔๒.

                                              ๗.สุขกามานิ ภูตานิ   โย ทณฺเฑน วิหึสติ   ๓. วิริยวรรค คือ หมวดความเพียร

                                                อตฺตโน สุขเมสาโน  เปจฺจ โส น ลภเต สุขํ.   ๗.โกสชฺชํ ภยโต ทิสฺวา วิริยารมฺภญฺจ เขมโต
                                                สัตว์ทั้งหลายย่อมต้องการความสุข      อารทฺธวิริยา โหถ    เอสา พุทฺธานุสาสนี.

                                              ผู้ใดแสวงหาสุขเพื่อตน เบียดเบียนเขาด้วย    ท่านทั้งหลายจงเห็นความเกียจคร้านเป็น
                                              อาชญา ผู้นั้นละไปแล้ว ย่อมไม่ได้สุข.   ภัย  และเห็นการปรารภความเพียรเป็น

                                                 (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๓๒.       ความปลอดภัย  แล้วปรารภความเพียรเถิด
                                                                                 นี้เป็นพุทธานุศาสนี.
                                              ๓. ปัญญาวรรค คือ หมวดปัญญา
                                                                                   (พุทฺธ)     ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.
                                              ๘.ชีวเตวาปิ สปฺปญฺโญ    อปิ วิตฺตปริกฺขยา

                                                 ปญฺญาย จ อลาเภน   วิตฺตวาปิ น ชีวติ.   ๘.นิทฺทํ ตนฺทึ วิชิมฺหิตํ   อรตึ ภตฺตสมฺมทํ
                                                ถึงสิ้นทรัพย์  ผู ้มีปัญญาก็เป็นอยู่ได้    วิริเยน นํ ปณาเมตฺวา  อริยมคฺโค วิสุชฺฌติ.
                                              แต่อับปัญญาแม้มีทรัพย์ก็เป็นอยู่ไม่ได้      อริยมรรคย่อมบริสุทธิ์  เพราะขับไล่

                                                (มหากปฺปินเถร)    ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๐.  ความหลับ  ความเกียจคร้าน  ความบิดขี้
                                                                                 เกียจ ความไม่ยินดี  และความเมาอาหาร
                                              ๙.ยสํ ลทฺธาน ทุมฺเมโธ  อนตฺถํ จรติ อตฺตโน
                                                                                 นั้นได้ด้วยความเพียร.
                                                 อตฺตโน จ ปเรสญฺจ   หึสาย ปฏิปชฺชติ.
                                                                                   (พุทฺธ)     สํ. ส. ๑๕/๑๐.
                                                คนมีปัญญาทราม  ได้ยศแล้ว  ย่อม
                                              ประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ตน ย่อม  ๙.โย จ วสฺสสตํ ชีเว    กุสีโต หีนวีริโย
                                              ปฏิบัติเพื่อเบียดเบียนทั้งตนและผู้อื่น.      เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย   วิริยํ อารภโต ทฬฺหํ.
                                                                                   ผู้ใดเกียจคร้าน  มีความเพียรเลว  พึง
                                                 (หตฺถาจริย)    ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๔๐.
                                                                                 เป็นอยู่ตั้งร้อยปี  แต่ผู้ปรารภความเพียร

                                              ๑๐.โย จ วสฺสสตํ ชีเว ทุปฺปญฺโญ อสมาหิโต  มั่นคง  มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว  ประเสริฐ
                                                                                 กว่าผู้นั้น.
                                               เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย  ปญฺญวนฺตสฺส ฌายิโน.
                                                                                   (พุทฺธ)     ขุ. ธ. ๒๕/๓๐.
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23