Page 36 - Annual Report 2551
P. 36
ตารางที่ 2 ผลการบริหารและจัดการหนี้สาธารณะ
หน่วย : ล้านบาท
การลดยอดหนี้คงค้าง การลดภาระ/ประหยัดดอกเบี้ย
หนี้ในประเทศ 49,321.40 85.54
- รัฐบาล 18,368.00 41.25
- รัฐวิสาหกิจ 30,953.40 44.29
หนี้ต่างประเทศ 685.63 2,065.34
- รัฐบาล 1.89 1,589.25
- รัฐวิสาหกิจ 683.74 476.09
รวม 50,007.03 2,150.88
2. การบริหารจัดการหนี้สาธารณะในประเทศ
2.1 การกู้ใหม่ : สบน. ได้ดำเนินการกู้เงินเพื่อ 2.2.2 การ Roll-over พันธบัตรรัฐบาลที่
ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ จำนวน 165,000 ล้านบาท ครบกำหนดไถ่ถอน จำนวน 34,950 ล้านบาท โดยกู้เงิน
โดยออกพันธบัตรรัฐบาล อายุ 5 10 15 20 และ 30 ปี ระยะสั้นมาชำระคืนในวันที่ครบกำหนด จากนั้นได้ทยอย
วงเงิน 100,050 ล้านบาท พันธบัตรออมทรัพย์ อายุ 2 ออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ วงเงินรวม
และ 3 ปี วงเงิน 18,000 ล้านบาท ตั๋วสัญญาใช้เงิน อายุ 34,657 ล้านบาท และนำเงิน Premium ในบัญชีสะสม
2 และ 3.5 ปี วงเงิน 25,950 ล้านบาท และออกตั๋ว จำนวน 293 ล้านบาท มาสมทบเพื่อไปชำระคืนต้นเงินกู้
เงินคลัง ซึ่งได้แปลงเป็นพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหาร ระยะสั้น ทำให้สามารถลดหนี้คงค้างได้ 293 ล้านบาท
หนี้ อายุ 5 ปี ในภายหลัง วงเงิน 21,000 ล้านบาท 2.2.3 การ Roll-over พันธบัตรรัฐบาล
2.2 การบริหารหนี้ : เพื่อการบริหารหนี้ที่ครบกำหนดไถ่ถอน จำนวน 37,500
2.2.1 การ Roll-over ตั๋วเงินคลังเพื่อบริหาร ล้านบาท โดยกู้เงินระยะสั้น จำนวน 22,000 ล้านบาท 035
ดุลเงินสด วงเงิน 80,000 ล้านบาท และตั๋วเงินคลังที่ได้กู้ และนำเงินจากงบชำระหนี้ที่สามารถประหยัด จำนวน
มาเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณที่สะสมมาในช่วง 15,500 ล้านบาท มาสมทบเพื่อชำระคืนในวันที่ครบ
ปีงบประมาณ 2542-2547 จำนวน 67,000 ล้านบาท กำหนด จากนั้นได้ทยอยออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการ
ซึ่งในการกำหนดวงเงินตั๋วเงินคลังที่จะออกจะพิจารณา บริหารหนี้ วงเงินรวม 21,925 ล้านบาท และเงิน
ให้สอดคล้องกับกระแสเงินสดรับ-จ่ายของรัฐบาลเพื่อให้ Premium ในบัญชีสะสม จำนวน 75 ล้านบาท มาสมทบ
มีเงินสดเพียงพอต่อการรองรับธุรกรรมการใช้จ่ายของ เพื่อไปชำระคืนต้นเงินกู้ระยะสั้น ทำให้สามารถลดหนี้
รัฐบาล โดยมีต้นทุนการกู้เงินที่เหมาะสมและสอดคล้อง คงค้างได้ 15,575 ล้านบาท ANNUAL REPORT 2008 รายงานประจำปี 2551
กับภาวะตลาด
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE