Page 37 - Annual Report 2551
P. 37
2.2.4 การ Roll-over ตั๋วสัญญาใช้เงินที่ แห่งประเทศไทย โครงการระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อม
ครบกำหนดไถ่ถอน จำนวน 5,000 ล้านบาท โดยออก ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการบริหารหนี้ และโครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมจะนะ
2.2.5 การชำระคืนตั๋วสัญญาใช้เงิน ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เป็นต้น รวมทั้ง
ก่อนครบกำหนด (Prepayment) จำนวน 2,500 ล้านบาท จัดทำแผนการบริหารหนี้เพื่อปรับโครงสร้างหนี้ให้
โดยใช้เงินจากงบชำระหนี้ที่สามารถประหยัดได้ ทำให้ลด สอดคล้องกับสภาวะตลาดและเพื่อป้องกันความเสี่ยง
ยอดหนี้คงค้างลงตามจำนวนดังกล่าว และลดภาระ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากความไม่แน่นอนของสถานการณ์
ดอกเบี้ยจำนวน 41.25 ล้านบาท ทางเศรษฐกิจและการเมือง โดยในปีงบประมาณ 2551
นอกจากนี้ สบน. ยังได้ดำเนินการบริหารและ รัฐวิสาหกิจสามารถกู้เงินและบริหารหนี้ได้วงเงินรวม
จัดการเงินกู้เพื่อชดใช้ความเสียหายให้ FIDF โดยการ 327,923.49 ล้านบาท
Roll-over ตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ (FIDF1)
ที่ครบกำหนดไถ่ถอน จำนวน 10,000 ล้านบาท โดยกู้ 3. การบริหารจัดการหนี้สาธารณะต่างประเทศ
เงินระยะสั้น จำนวน 6,000 ล้านบาท และนำเงิน สบน. ได้บริหารหนี้ต่างประเทศโดยใช้เครื่องมือ
Premium จากการประมูลพันธบัตร จำนวน 4,000 ทางการเงินและอาศัยโอกาสที่ตลาดการเงินเอื้ออำนวย
ล้านบาท มาสมทบเพื่อชำระคืนในวันครบกำหนด ดำเนินการบริหารหนี้ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้การบริหาร
จากนั้นได้ดำเนินการออกพันธบัตรเพื่อการปรับ จัดการหนี้สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โครงสร้างหนี้ มาชำระคืนเงินกู้ระยะสั้นและเงิน Premium และเกิดประโยชน์สูงสุด โดยในปีงบประมาณ 2551 สบน.
จากการประมูลพันธบัตรและดำเนินการ Roll-over ได้ดำเนินการบริหารหนี้ต่างประเทศ จำนวน 22,000.13
พันธบัตรรัฐบาลกรณีพิเศษ (FIDF 3) ที่ครบกำหนด ล้านบาท ซึ่งสามารถลดหนี้คงค้างลง 1.89 ล้านบาท
ไถ่ถอน จำนวน 15,000 ล้านบาท โดยกู้เงินระยะสั้น ลดภาระดอกเบี้ยได้ 1,589.25 ล้านบาท แบ่งเป็น
จำนวน 9,506 ล้านบาท และนำเงินทดรองจ่ายจาก 3.1 การ Prepayment เงินกู้ภายใต้โปรแกรม
บัญชีเงินฝากกระทรวงการคลัง จำนวน 5,494 ล้านบาท Euro Commercial Paper (ECP) ที่ใช้เป็น Bridge
มาสมทบเพื่อชำระคืนในวันครบกำหนด จากนั้นได้ออก Financing เงินกู้ธนาคารเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศ
พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้เพื่อชำระคืน แห่งญี่ปุ่น (JBIC) วงเงิน 1.89 ล้านบาท โดยใช้งบชำระหนี้
เงินกู้ระยะสั้นและเงินทดรองจ่ายจากบัญชีเงินฝาก ซึ่งสามารถลดหนี้คงค้างลงตามจำนวนดังกล่าวและ
กระทรวงการคลัง ลดภาระดอกเบี้ยได้ 0.325 ล้านบาท
การออกพันธบัตรรุ่นอายุต่าง ๆ ของรัฐบาลทั้งเพื่อ 3.2 การ Refinance เงินกู้ JBIC วงเงินรวม
การจัดหาเงินกู้ใหม่และเพื่อการบริหารหนี้ที่กล่าวมา 16,967.50 ล้านบาท โดยการออก ECP เพื่อใช้เป็น
036 แล้ว ทำให้มีปริมาณการออกพันธบัตรได้อย่างสม่ำเสมอ Bridge Financing ก่อน หลังจากนั้นได้ดำเนินการออก
และเพียงพอที่จะสร้างอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (Benchmark) Samurai Bond จำนวน 3 รุ่น เพื่อนำมาชำระคืนเงินกู้
เพื่อการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ ECP และได้ดำเนินการแปลงหนี้ Samurai Bond
ภารกิจที่สำคัญอีกประการหนึ่งของ สบน. ได้แก่ จำนวน 1 รุ่น โดยแปลงหนี้เฉพาะในส่วนของดอกเบี้ย
การจัดทำแผนการกู้เงินของรัฐวิสาหกิจเพื่อให้รัฐวิสาหกิจ จากสกุลเงินเยนเป็นเงินบาท เพื่อปิดความเสี่ยง
สามารถดำเนินโครงการ/แผนงานลงทุนได้อย่าง จากอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งจากการดำเนินงานสามารถ
ต่อเนื่อง ซึ่งจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศได้อีก ลดภาระดอกเบี้ยได้ 1,588.92 ล้านบาท
ทางหนึ่ง โดยมีโครงการลงทุนที่สำคัญ เช่น โครงการ
รถไฟฟ้าสายสีม่วงของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ