Page 38 - Annual Report 2551
P. 38

3.3  การ Swap Arrangement เงินกู้ JBIC วงเงิน   2551 สบน. ได้พัฒนาแบบจำลองบริหารความเสี่ยง  (Risk

            5,030.74  ล้านบาท  โดยแปลงอัตราดอกเบี้ยคงที่เป็น   Model) ระยะที่ 2 ที่เป็นแนวทาง Stochastic Approach
            อัตราดอกเบี้ยลอยตัว                                สำเร็จ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์และประเมิน

                                                               ต้นทุนและความเสี่ยงของ สบน. ซึ่งจะมีประโยชน์อย่างยิ่ง
                 นอกจากนี้ สบน. ยังได้เสนอแนะแนวทางการบริหาร   ต่อ สบน. ในการพัฒนาข้อสมมติฐานต่างๆ เพื่อใช้ในการ

            หนี้ให้แก่รัฐวิสาหกิจเพื่อให้มีต้นทุนการกู้เงินที่เหมาะสม   ประเมินสถานการณ์ให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหาร
            และมีการป้องกันความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพ        หนี้สาธารณะและวิเคราะห์ผลของนโยบายการบริหาร

            โดยในปีงบประมาณ 2551  รัฐวิสาหกิจสามารถดำเนิน      หนี้สาธารณะที่กำหนด  รวมถึงตัวชี้วัดความเสี่ยงต่างๆ
            การบริหารหนี้ต่างประเทศได้ 3,775.74 ล้านบาท สามารถ    ที่ได้ เช่น  Average Time to Maturity Duration,  Foreign

            ลดหนี้คงค้าง 683.74  ล้านบาท  และลดภาระดอกเบี้ย    Exchange Sensitivity และ Interest Rate Sensitivity
            และประหยัดดอกเบี้ยได้ 476.09 ล้านบาท               เป็นต้น ยังเป็นตัวแปรสำคัญต่อการกำหนดกรอบการ

                                                               บริหารหนี้สาธารณะโดยรวม
              การดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์


            (Strategic  Plan)  และกำหนดตัวชี้วัด

            (Key Indicators) ในการบริหารหนี้และ

            ความเสี่ยง

                 เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านการบริหาร
            จัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก  สบน. ได้จัดทำ Portfolio

            Benchmark เพื่อเป็นแนวทางและกรอบการบริหาร
            จัดการหนี้สาธารณะ ตลอดจนการประเมินความเสี่ยง

            ทางการเงินที่มีผลกระทบต่อภาระหนี้สาธารณะ
            ในภาพรวม โดยการกำหนด Portfolio Benchmark นี้

            เป็นกลยุทธ์ที่ประเทศมีระบบการบริหารจัดการหนี้สาธารณะ
            ที่มีประสิทธิภาพ  หรือ Debt Offices  ต่างๆ  นำมาใช้

            กันอย่างแพร่หลาย ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2551 Portfolio
            Benchmark ของ สบน. มีทั้งหมด 4 ตัว ประกอบด้วย 1)

            สัดส่วนหนี้ในประเทศต่อหนี้ต่างประเทศ  (Domestic  :
            External) เท่ากับร้อยละ 80  ต่อ 20 2)  สัดส่วนหนี้                                                 037

            ต่างประเทศสกุลเงินต่าง ๆ (Currency Mix) โดยเป็นหนี้
            สกุลเงินเยนร้อยละ  45  สกุลเงินเหรียญสหรัฐ  ร้อยละ

            40 และสกุลเงินยูโร ร้อยละ 15 ตามลำดับ 3) สัดส่วน
            หนี้ระยะสั้นต่อหนี้ระยะยาว (Short-term : Long-term)

            โดยเป็นการกำหนดเพดานหนี้ระยะสั้นไว้ที่ 250,000
            ล้านบาท  และ  4)  สัดส่วนหนี้ที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่

            ต่อหนี้ที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว  (Fixed  :  Floating)                                               ANNUAL REPORT 2008  รายงานประจำปี 2551
            เท่ากับร้อยละ 85 ต่อ 15 นอกจากนี้ ในปีงบประมาณ

        PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43