Page 62 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 62

ห น้ า  | 55



               7.  ตัวอยางการทําอาหารปลาดุก
                         สวนผสม

                                1. รําละเอียด      2 กระสอบปุย
                                2. กากมะพราว     1 กระสอบปุย

                                3. ปลาปน     6 กิโลกรัม

                                4. กากถั่วเหลือง   6 กิโลกรัม
                                5. จุลินทรีย EM   1 ลิตร

                                6. กากน้ําตาล    1 กิโลกรัม

                                7. น้ํามันพืช    1 – 2 ลิตร
                      วิธีทํา

                          1.  นําสวนผสมขอ 1 จํานวน 1 กระสอบ ขอ 2,3,4 คลุกใหเขากัน
                          2.  นําสวนผสม ขอ 5 ,6 ผสมน้ํา 20 ลิตร เพื่อคลุกเคลาสวนผสม ขอ 1 หมักไว 12 ชั่วโมง

                                3.  นําสวนผสมที่หมักไวในขอ 1,2 ผสมกับรําละเอียด   1   กระสอบและน้ํามันพืช 1 – 2

               ลิตรคลุกเคลานําเขาเครื่องอัดเม็ดผึ่งแดด   2   วัน เก็บไวใชได   2   เดือน
                         เกร็ดความรู

                          1. การซื้อพันธุปลากอนการเคลื่อนยายใหปลาอดอาหาร 1 – 2 วัน เพื่อปองกันปลาดิ้นและ
               ทําใหปลาไสขาดเวลาเลี้ยงปลาจะไมโต

                          2. การเคลื่อนยายปลาใหเตรียม น้ํามันพืช 30 ซีซี : เกลือ   1   ชอนโตะ คนใหเขากันตักใส

               ในถุงหรือที่มีพันธุปลา อยูประมาณ 1 ชอนชา เพื่อปองกันปลาบาดเจ็บ
                          3.  การปองกันปลาหนีจากบอเวลาฝนตก  ใชวิธีหากมีฝนตกใหหวานอาหารใหปลากิน

               สัก 2 – 3 ครั้ง เพื่อหลอกวาเวลาฝนตกจะไดกินอาหารแลวปลาจะไมหนี

                          4. การเปลี่ยนถายน้ําใหดูดน้ําออก 1 สวน ใน 3 สวน และนําน้ําที่ใสใหมใหทําเปนละออง
               ฝอยโดยใชสายยางเพื่อเพิ่มออกซิเจนใหแกปลา

                          5. การจับปลาเพื่อบริโภค   โดยใชวิธีใชสายยางฉีดน้ําเหมือนกับฝนตกปลาจะเลนน้ําจากนั้น

               ใชสวิงตักปลา ที่เลนน้ําทันที ปลาจะไมรูสึกถึงอันตรายและจะกินอาหารตอและไมหนี


                      ขอดีของการเลี้ยงปลาดุกในบอพลาสติก
                        1. ใชพื้นที่เลี้ยงนอย สามารถเลี้ยงไดทุกที่

                        2.  การสรางบอเลี้ยงไดงาย

                        3.  ระยะเวลาเลี้ยงสั้น
                        4.  เลี้ยงงาย อดทนตอสภาพน้ําไดดี

                        5.  บริโภคเองในครัวเรือน และมีเหลือจําหนาย
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67