Page 50 - ทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) ม.ต้น
P. 50

43



                         ชีวิตของนายเล็กในระยะตนไมแตกตางจากชาวบานบานบัว หรือหมูบานใกลเคียงที่ตั้งอยูเชิง

                  เทือกเขาภูพาน ขณะนั้นปาลดความอุดมสมบูรณไปมากจากการที่ชาวบานถางปา  เพื่อปลูกบอตั้งแต

                  พ.ศ. 2507 และเพื่อปลูกมันสําปะหลัง  ตั้งแตป พ.ศ. 2513 นายเล็กเองก็ปลูกปอตั้งแตป พ.ศ. 2507 และ

                  เพื่อปลูกมันสําปะหลังตั้งแตป พ.ศ. 2513 นายเล็กเองก็ปลูกปอเพื่อขายอยู 3 ป จากนั้นเปลี่ยนมาปลูก

                  มันสําปะหลังอีก 3 ป ในระหวางนั้นก็เกิดตั้งคําถามวา ทําไมยิ่งปลูกพืชเศรษฐกิจ ยิ่งจน ยิ่งเปนหนี้สิน

                  คําตอบที่นายเล็กไดรับมาจากการพูดคุยกับผูเฒาผูแกในหมูบานที่ใหความคิดเรื่อง “เฮ็ดอยู เฮ็ดกิน” หรือ

                  การใชชีวิตแบบพออยู พอกิน เหมือนในอดีต

                         ในป พ.ศ. 2530 จึงหันมาศึกษาปาธรรมชาติบทเทือกเขาภูพานใกลบานบัว บานเกิดและบานที่อยู

                  ในปจจุบัน โดยมีผูเฒาผูแกเปนผูใหความรู จากนั้นจึงจัดระบบชีวิตของตนเองและครอบครัวเสียใหม

                  โดยใชแนวคิด “ยกปาภูพานมาไวที่บาน” และความคิด “ปลูกทุกอยางที่กิน กินทุกอยางที่ปลูก” นําพืช

                  พื้นบานประมาณ 200 ชนิดมาปลูกในดินของตนเองประมาณ 5 ไร ไมใชสารเคมี ยาฆาแมลง ถือเปนการ

                  “สรางปาใหมใหชีวิต” และไดขุดสระน้ํา 2 บอ เพื่อเปน “แมน้ําสายใหมใหครอบครัว” เมื่อทดลองไดผลจึง


                  ขยายพื้นที่เปน 23 ไรเพื่อใหพอเลี้ยงครอบครัว ซึ่งมีสมาชิก 14 คน ในพื้นที่ปลูกทั้งไมผล ไมใชสอย ไมยืน
                  ตนหลายชนิด และเลี้ยงทั้งวัว ควาย ไกพื้นบาน ในที่สุดก็สามารถปลดหนี้สินลูกหลานไมตองออกไปทํางาน


                  นอกบาน  “พอฝกใหลูกๆ ทุกคนเปนคนประหยัด ใหขจัดวัตถุนิยม ใหชื่นชมความเปนไท ไมใฝใจในการเปน
                  ทาส ใหสามารถพึ่งพาตนเอง พึ่งพาธรรมชาติดวยความเคารพเพื่อชีวิตและสิ่งแวดลอม”



                  ชีวิตคือการศึกษา การศึกษาเพื่อชีวิต


                         ในชวงปพ.ศ. 2530 – 2532 ศูนยขอมูลทองถิ่นวิทยาลัยครูสกลนคร (ปจจุบัน คือ สถาบันราชภัฏ
                  สกลนคร) รวมกับสถาบันพัฒนาชนบทอีสาน ไดรวมกันศึกษาวิจัยกลุมชนชาติพันธุเผากะเลิงบานบัว ตําบล


                  กุดบาก โดยสง นายธวัชชัย กุณวงษ บัณฑิต อาสาสมัครเขามาศึกษาอยูในชุมชนเปนเวลา  2  ป

                  นายธวัชชัย กุณวงษ ไดตระหนักถึงภูมิปญญาในหมูผูนําชาวบานหลายคน เชน พอเล็ก กุดวงคแกว,

                  พอเสริม อุดมนา, นายประหยัด โททุมพล, นายคา กุดวงคแกว จากการตั้งกลุมพูดคุยวิเคราะหปญหาในวง

                  “โส” หรือสนทนากันอยางเปนทางการ กอใหเกิดแนวความคิดรวมกันในการแกปญหาที่เกิดขึ้นกับตนเอง

                  และชุมชน จึงไดรวมกลุมกันในป พ.ศ.2532 โดยตั้งชื่อกลุมวา “กลุมกองทุนพันธุไมพื้นบาน” ซึ่งในชวงแรก

                  ไดรวมกันไปศึกษาดูงานการเพาะพันธุหวายที่อําเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร จํานวน 30 คน สวนใหญเปน

                  คนบานบัว หลังจากกลับมาจากการศึกษาดูงานแลว นายเล็กเปน 1 ใน 13 คนจากกลุมที่เริ่มทําการเพาะ

                  ขยายพันธุหวายพื้นบานเอง โดยไดรับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิหมูบานจํานวน 2,500 บาท
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55