Page 52 - ทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) ม.ต้น
P. 52

45



                         ปจจุบันเครือขายอินแปงมีการขยายเครือขายเพิ่มขึ้นทุกป ในชวงป พ.ศ. 2542 มีสมาชิกใน

                  เครือขายในพื้นที่รอบปาเทือกเขาภูพาน 3 จังหวัด คือ สกลนคร กาฬสินธุ และอุดรธานี ซึ่งอยูในพื้นที่

                  จังหวัดสกลนคร 5 อําเภอ คือ อําเภอกุดบาก อําเภอภูพาน อําเภอนิคมน้ําอูน อําเภอพรรณนิคมและอําเภอ

                  วาริชภูมิ ในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ 1 อําเภอ คือ อําเภอคํามวง และพื้นที่จังหวัดอุดรธานี 1 อําเภอ คือ

                  อําเภอวังสามหมอ จํานวนสมาชิกในครอบครัว 600 ครอบครัว และยังมีการขยายเครือขายตอไปเรื่อยๆ

                  สรางกระบวนการเรียนรู สูการปฏิบัติ

                         นายเล็ก ใหความสําคัญตอการเรียนรู สูการปฏิบัติจริง โดยใชวิธีการรวมกลุม เพื่อจัดกระบวนการ

                  เรียนรู ปลูกจิตสํานึก พรอมขยายเครือขายการเรียนรู ดังคํากลาวของนายเล็กที่วา “อยากไดชางปา ก็เอา

                  ชางไปตอ ถาอยากไดคนชนิดเดียวกัน ก็ตองเอาคนไปตอ คนแบบเดียวกับเรามีอยูดวยกันทุกชุมชน เพียงแต

                  เราตองไปคนหาเขาทั้งนั้น”

                         ปจจุบันกลุมอินแปงอยูในสมาชิกเครือขายภูมิปญญาไท ซึ่งถือเปนเครือขายระดับชาติ มีสมาชิก

                  เปนเครือขายองคกรชุมชน ระดับอําเภอ และจังหวัดอยูทุกภาคของประเทศ มีการเดินทางไปศึกษาดูงาน


                  แลกเปลี่ยนความรู และในป พ.ศ. 2541 เครือขายภูมิปญญาไทไดรวมกันพัฒนา “แผนแมแบบชุมชน”
                  ขึ้นมาจากประสบการณของชุมชนเพื่อเปนกรอบและทิศทางในการพัฒนาชุมชน โดยแบงเปน 7 ประเด็น


                  คือ การเกษตร สิ่งแวดลอม สุขภาพชุมชน อุตสาหกรรม ธุรกิจชุมชน กองทุนและสวัสดิการชุมชนและการ
                  เรียนรู


                         นายเล็ก กุดวงคแกว นับเปนบุคคลที่สมควรไดรับการยกยองในฐานะที่ทานเปน “ปราชญ
                  ชาวบาน” และเปนผูนําตามธรรมชาติของชุมชน ผลงานที่โดดเดนของนายเล็กคือการเผยแพรความคิดใน


                  การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ โดยประยุกตภูมิปญญาทองถิ่นผสานกับแนวคิดทางพุทธศาสนา
                  แนวความคิดของนายเล็กสามารถนําไปปฏิบัติและกอใหเกิดผล อีกทั้งยังสัมพันธกับวิถีเศรษฐกิจของ


                  ชาวบาน บนพื้นฐานของการใชชีวิตอยางพออยู พอกิน คําดังกลาวของผูเฒาผูแกชาวกะเลิงที่วา  “ภูพานคือ

                  ชีวิต วงและมิตรคือพลัง พึ่งตนเองคือความหวัง ธรรมชาติยังเพื่อชีวิตและชุมชน”  (ผลงานรางวัลลูกโลกสี

                  เขียว ครั้งที่ 2 ป 2543 http://pttinternet.pttplc.com)

                         ปจจุบัน  บทบาทหลักของนายเล็ก กุดวงคแกว ในขณะนี้ คือ การขยายแนวความคิดและสราง

                  เครือขาย  สวนงานภายในกลุมอินแปง สามารถดําเนินงานละกําหนดแนวความคิดของตนเอง รวมทั้งกลุม

                  เยาวชน “เด็กกะเลิงรักปา” ที่มีกิจกรรมหลักเพื่อใหเยาวชนไดสืบทอดแนวคิด วิถีชีวิต วัฒนธรรมของชุมชน

                  นับเปนการเผยแพร ถายทอด ผลงานที่ประสบผลสําเร็จจากรุนสูรุน

                         2. ชุมชนที่ประสบผลสําเร็จและไดรับการเผยแพร ผลงานการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

                  พอเพียง
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57