Page 14 - รายงานน้ำโรงเรียน 60 รูปแบบ 1
P. 14
โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อสนับสนุนน ้าดื่มสะอาดให้กับโรงเรียนทั่วประเทศ ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
- ระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนจ้านวน 6,832 แห่ง ดีขึ น จากการมีน ้า
บาดาลที่สะอาดปลอดภัยใช้ส้าหรับทุกกิจกรรม
- สุขภาพของเด็กนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนดีขึ น มีความแข็งแรงของร่างการและสติปัญญา
ช่วยรัฐในการประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลความเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการได้รับสารปนเปื้อนในน ้าดื่มและ
สุขอนามัยที่ไม่ดีในโรงเรียน
- เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ของนักเรียนเนื่องจากมีพลานามัยและสติปัญญาที่สมบูรณ์ เป็นผลดีต่อ
ประเทศชาติในอนาคตที่จะมีพลเมืองที่มีคุณภาพ
- เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน ้าบาดาลเพื่อการอุปโภคบริโภคอย่าง
ยั่งยืน ที่สามารถขยายผลสู่การด้าเนินธุรกิจการผลิตน ้าดื่มได้มาตรฐานองค์การอนามัยโลกในรูปแบบสหกรณ์โรงเรียนหรือ
วิสาหกิจชุมชนต่อไป
- เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน ้าบาดาลเพื่อการอุปโภคบริโภคแก่สาธารณชน
9. ผู้รับผิดชอบโครงการ
- ส้านักพัฒนาน ้าบาดาล กรมทรัพยากรน ้าบาดาล
10. ตัวชี วัดโครงการ
ด้านคุณภาพ นักเรียนและชุมชนตามเป้าหมายมีน ้าบาดาลสะอาด ได้มาตรฐานน ้าอุปโภคบริโภคใช้
อย่างเพียงพอและทั่วถึง และมีน ้าดื่มสะอาดได้มาตรฐานน ้าดื่มองค์การอนามัยโลกใช้ดื่มกินในโรงเรียนและชุมชนด้าน
ปริมาณ การพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลตามเป้าหมายส้าเร็จตามกรอบระยะเวลาที่ก้าหนด
2. ขั นตอนการด้าเนินการ/กิจกรรมส้าคัญ
2.1 การส้ารวจธรณีฟิสิกส์
การส้ารวจทางธรณีฟิสิกส์มีอยู่หลายวิธี บางวิธีวัดค่าสนามที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติ แต่บางวิธีจ้าเป็นต้อง
อาศัยการสร้างสนามขึ นเพื่อปล่อยลงสู่พื นดินแล้วท้าการวัดค่า วิธีการวัดสนามธรรมชาติซึ่งใช้ แรงโน้มถ่วง
สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อหาการรบกวนที่เกิดขึ นในสนามเหล่านั น ซึ่งอาจมีสาเหตุมา
จากลักษณะทางธรณีวิทยาใต้ผิวดิน ที่มีความส้าคัญทางเศรษฐกิจหรือความสนใจในแง่อื่นๆ วิธีการส้ารวจโดยอาศัยการ
สร้างสนามขึ น อาทิสนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งอาจใกล้เคียงกับสนามที่เกิดขึ นตามธรรมชาติ หรือการสร้าง
คลื่นไหวสะเทือนและส่งลงสู่ใต้พื นดิน เพื่อหาขอบเขตของลักษณะทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้พื นดิน โดยทั่วไปวิธีการวัด
สนามธรรมชาติให้ข้อมูลที่ระดับลึกกว่าและท้าได้ง่ายกว่าวิธีการส้ารวจโดยอาศัยการสร้างสนาม แต่วิธีการส้ารวจโดย
อาศัยการสร้างสนามขึ น สามารถให้ข้อมูลของลักษณะทางธรณีวิทยาใต้ผิวดินที่มีรายละเอียดมากกว่า การส้ารวจทาง
ธรณีฟิสิกส์ที่กรมทรัพยากรน ้าบาดาลใช้ในงานส้ารวจหาแหล่งน ้าบาดาลมีอยู่หลักๆ 2 วิธี ดังต่อไปนี
ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี หน้า 9