Page 15 - รายงานน้ำโรงเรียน 60 รูปแบบ 1
P. 15

โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อสนับสนุนน ้าดื่มสะอาดให้กับโรงเรียนทั่วประเทศ ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560




                           การส้ารวจความต้านทานไฟฟ้าจ้าเพาะ (Electrical Resistivity Method)

                           ค่าความต้านทานไฟฟ้าจ้าเพาะ (Resistivity) หมายถึง ค่าความต้านทานไฟฟ้าจ้าเพาะของชั นดินและหิน
               ประกอบด้วยปัจจัยเกี่ยวข้อง คือ น ้าหรือโคลนเจาะในหลุม ชนิดของดินหรือหินโดยตรงและขนาดของหลุมเจาะ มีหน่วย
               วัดเป็น โอห์ม-เมตร

                           ความต้านทานไฟฟ้าของหินเป็นตัวจ้ากัดปริมาณของกระแสไฟฟ้าที่จะไหลผ่านชั นหินนั นๆ ในทางปฏิบัติ
               กระแสไฟฟ้าจะถูกส่งลงสู่ดินผ่านขั วไฟฟ้าสองขั ว ซึ่งมีผลให้เกิดความต่างศักย์ระหว่างขั วศักย์ไฟฟ้าอีกสองขั ว ซึ่งอยู่ใน

               แนวเส้นตรงเดียวกัน เราสามารถทราบค่าความต้านทานไฟฟ้าจ้าเพาะของชั นดิน หินได้ โดยการค้านวณจากค่า
               กระแสไฟฟ้า และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่วัดได้ ณ จุดความลึกใดๆ ในแนวดิ่งของต้าแหน่งที่ส้ารวจ ความต้านทาน
               ไฟฟ้าของหินแต่ละชนิดจะขึ นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ได้แก่ ชนิดของแร่ที่ประกอบขึ นเป็นหิน ความหนาแน่นของเนื อ
               หิน ช่องว่างและขนาดรูปร่างของช่องว่าง สิ่งที่แทรกในช่องว่าง ปริมาณความชื นของหิน คุณภาพของน ้าที่แทรกอยู่ใน

               เนื อหิน และอุณหภูมิ โดยทั่วไปชั นหินแข็งจะมีค่าความต้านทานไฟฟ้าสูง หินร่วนที่มีขนาดตะกอนใหญ่กว่าจะมีค่าความ
               ต้านทานไฟฟ้าสูงกว่าชนิดที่มีตะกอนเล็กกว่า แต่ปริมาณน ้าที่แทรกและคุณสมบัติทางไฟฟ้าของน ้า จะเป็นตัวแปรที่
               ส้าคัญที่จะท้าให้ความต้านทานไฟฟ้าของหินเปลี่ยนแปลงไป




















                        รูปที่ 1  กิจกรรมการส้ารวจทางธรณีฟิสิกส์ ด้วยวิธีการส้ารวจความต้านทานไฟฟ้าจ้าเพาะ


                        2.2  การเจาะบ่อน ้าบาดาล

                        2.2.1 การจัดเตรียมสถานที่และการติดตั งเครื่องจักรเจาะบ่อน ้าบาดาล

                           การตั งเครื่องจักรบ่อ

                           - การติดตั งเครื่องจักรเจาะบ่อ ควรค้านึงถึงความสะดวกในการท้างานและความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน
               และควรหันหน้ารถเจาะออกทางด้านถนน หรือทิศทางที่สามารถน้าเครื่องจักรออกจากจุดเจาะได้ทันท่วงที ถ้าหากเกิด
               ปัญหากับการเจาะบ่อ เช่น บ่อพังจนแก้ไขไม่ได้ หรือเกิดภัยธรรมชาติ

                           - ไม่ติดตั งเครื่องจักรเจาะบ่อใกล้สายไฟฟ้าแรงสูง

                           - ไม่ติดตั งเครื่องจักรเจาะบ่อใกล้สิ่งปลูกสร้างจนเกินไป เช่น หอถังสูง

                           - ไม่ติดตั งเครื่องจักรเจาะบ่อในพื นที่ลาดเอียงมากๆ




               ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี                                                     หน้า 10
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20