Page 17 - รายงานน้ำโรงเรียน 60 รูปแบบ 1
P. 17

โครงการพัฒนาแหล่งน ้าบาดาลเพื่อสนับสนุนน ้าดื่มสะอาดให้กับโรงเรียนทั่วประเทศ ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560




               การผสมน ้าโคลนให้ใช้น ้าจืดผสมกับผงโคลน โดยใช้เครื่องมือผสมผงโคลนที่ติดมากับเครื่องจักรเจาะบ่อดังรูป


















                                                               รูปที่ 3 การผสมน ้าโคลน




                           โดยใช้ปั๊มน ้าโคลนที่ติดตั งอยู่กับเครื่องจักรสูบน ้าจากบ่อโคลน ผ่านเครื่องผสมน ้าโคลน ลงบ่อน ้าโคลน จน
               น ้าโคลนมีความเข้มข้นและความหนืดตามที่ต้องการ


                        2.2.2  ขั นตอนการเจาะและก่อสร้างบ่อบาดาลและการก่อสร้างบ่อ

                           วิธีการเจาะ

                           การเจาะลงท่อกันพัง (Casing Program)

                           ให้ใช้ท่อเหล็กเหนียวขนาด 12 นิ วส้าหรับการเจาะบ่อระบบ Direct Rotary Drilling และขนาด 8 นิ ว

               ส้าหรับการเจาะบ่อระบบ Air Rotary Drilling ความลึกอาจขึ นอยู่กับดุลยพินิจของช่างเจาะขณะท้าการเจาะ          ณ
               บ่อนั นๆ โดยทั่วไปท่อกันพังมีความยาวประมาณท่อนละ 3 เมตร เพื่อสะดวกในการติดตั งและขนย้าย การต่อท่อกันพัง
               ควรใช้ท่อต่อเกลียวหัวท้าย ท่อกันพังสามารถน้ากลับมาใช้ใหม่ได้อีกหลายๆครั งหลังจากเสร็จสิ นกระบวนการสร้างบ่อ
               บาดาล  ให้เจาะด้วยหัวเจาะขนาด 12 นิ วส้าหรับการเจาะระบบ Direct Rotary และ 8 นิ วส้าหรับการเจาะระบบ Air
               Rotary ความลึกส้าหรับการเจาะระบบ Direct Rotary ไม่น้อยกว่า 6 ม. หรือแล้วแต่ดุลยพินิจของช่างเจาะขณะท้าการ

               เจาะบ่อนั นๆ และจนกว่าจะถึงชั นหินแข็งส้าหรับการเจาะแบบ Air Rotary แล้วติดตั งท่อกันพัง

                           เจาะบ่อน้า (Pilot hole)

                           การเจาะบ่อน้าให้เจาะด้วยหัวเจาะขนาด 6 ½ ตลอดความลึกที่ต้องการ และเก็บตัวอย่างดิน หิน ทราย ทุก
               ระยะ 1 เมตร ที่เจาะผ่าน การเจาะด้วยระบบ Direct Rotary Drilling จ้าเป็นต้องใช้น ้าโคลน ดังนั นจะต้องขุดบ่อน ้า
               โคลนและผสมผงโคลนให้ได้ความหนืดของน ้าโคลนที่ต้องการก่อนท้าการเจาะ

                           ขณะท้าการเจาะบ่อนั นช่างเจาะควรท้าการเก็บตัวอย่างจากหลุมเจาะอย่างแม่นย้า และจดบันทึกล้าดับ

               ชั นดินและหินทุกช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์และความเชี่ยวชาญของช่างเจาะ เพื่อที่จะน้า



               ส้านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 10 อุดรธานี                                                     หน้า 12
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22