Page 116 - วรรณกรรม_50_ที่ต้องได้อ่านก่อนโต
P. 116
อ๊อตโต้ยืนชื่นชมร้านของตัวเองอยู่เป็นนาน
แม้ว่าทั้งหมดนั้นจะไม่ใช่ฝีมือของเขาคนเดียว
แต่เขาก็มีส่วนอยู่มากในการสร้างมันขึ้นมา จาก ภาพจาก www.thaiwriternetwork.com
แรงกาย แรงสมองของตัวเอง ถึงตู้โชว์หน้าร้าน ภาพจาก www.bangkokbiznews.com ‘พันธุ์หมาบ้า’..แบรนด์ของเพื่อนจากหนังสือสู่โลกออนไลน์
จะลอกแบบมาจากร้าน ‘ซาลูน’ ของจ๋า เขาก็ยัง โดย : รัตติยา อังกุลานนท์
ภูมิใจกับมัน คนอื่นๆ ที่ผ่านไปมา อาจจะมอง หลายเสียงที่เคยอ่าน พันธุ์หมาบ้า นักเขียนผู้ได้สองรางวัลซีไรต์ จากนิยาย
ร้านของเขาเป็นเพียงกระต๊อบ กระจ้อยร่อย ตั้งข้อสังเกตว่าหนังสือเรื่องนี้หยาบเกินไปสำาหรับ สองเรื่องคือ คำาพิพากษา (พ.ศ. 2524) และ เวลา
(ปี พ.ศ. 2536) ได้รับการยกย่องเป็นศิลปิน
ไม่มีราคาค่างวด แต่สำาหรับเขาแล้ว มันมีค่า ให้เด็กอ่าน กลัวว่าเด็กจะยึดเป็นคัมภีร์ในการใช้ แห่งชาติ และศิลปินศิลปาธร สาขาวรรณศิลป์ เมื่อ
ชีวิตแล้วจะทำาให้เด็กเหลวใหลหรือทำาตามอย่าง
มากมายนักในความรู้สึก ค่าของมันมิใช่อยู่กับ ตัวละคร ชาติเคยคุยเมื่อครั้งงานครบรอบ 20 ปี พ.ศ. 2547
ชาติ กอบจิตติ เป็นชาวสมุทรสาคร เกิด
ราคาวัสดุก่อสร้าง ทว่าอยู่ที่ความฝันได้กลาย พันธุ์หมาบ้าไว้ว่า “การเลี้ยงดูของผู้ปกครองที่มี เมื่อปี พ.ศ. 2497 เรียนจบด้านศิลปะที่เพาะช่าง
เป็นความจริงขึ้นมา ต่อเด็ก สังเกตว่าทุกตัวละครครอบครัวมีปัญหา ก่อนมาเป็นนักเขียนเขาเคยทำางานเย็บกระเป๋า
ทัยก็มีปัญหา อ๊อดโต้ก็มีปัญหา ล้านมันไม่กล้า
หนังขาย แต่เพราะความมุ่งมั่นจะเป็นนักเขียน
พันธุ์หมาบ้า ชาติ กอบจิตติ เคยแนะนำ ว่าถ้าจะให้เหมาะคน เข้าบ้านเพราะกลัวแม่ ผู้ปกครองสำาคัญต่อตัวเด็ก ทำาให้เขาทุ่มเททำางาน โดยมีเรื่องสั้นเรื่องแรกคือ
สำาคัญต่อชีวิตในอนาคตของคนนั้น”
“นักเรียนนักเลง” เขียนลงในหนังสืออนุสรณ์
พันธุ์หมาบ้าพิมพ์ซ้ำาถึง 27 ครั้ง
อ่านหนังสือเล่มนี้ควรจะอายุสักประมาณ 18 ปีขึ้นไป
“...ไม่ใช่อะไร... เขาคิดว่าอายุคงช่วยกรองเนื้อหาแก่คน (และยังจะมีพิมพ์ซ้ำาต่อไป เพราะนักอ่านรุ่นใหม่ ปทุมคงคา พ.ศ. 2512
ชาติ กอบจิตติ ยึดอาชีพนักเขียนเพื่อ
อ่านได้ในระดับหนึ่ง” ยังติดใจและแนะนำาให้อ่านกันอยู่เสมอ) ได้รับการ เลี้ยงชีพเพียงอย่างเดียว เขาเคยกล่าวไว้ว่า “ผม
เรื่องราวของมิตรภาพของกลุ่มเพื่อนในวัย เรื่องราวเหล่านี้เคยเพื่อตีพิมพ์เป็นตอนๆ ลงใน แปลเป็นภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และปัจจุบันกำาลัง เลือก” ที่จะเป็นคนเขียนหนังสือ ผมให้มันทั้ง
คึกคะนองและตั้งตัวในช่วงชีวิตที่แต่ละคนกำาลังหา นิตยสาร “ลลนา” ตั้งแต่ปักษ์แรกเดือนสิงหาคม พ.ศ. อยู่ในขั้นตอนการแปลเป็นภาษาญี่ปุ่น ชีวิต เอาทั้งชีวิตแลกกับมัน” เขามีความละเอียด
หนทางให้กับตนเอง ทั้ง อ๊อตโต้ ทัย เล็กฮิป 2528 ก่อนจะนำ มาตีพิมพ์รวมกันเป็นเล่มอีกครั้งเมื่อปี พิถีพิถันกับงานเขียนโดยเฉพาะนวนิยายอย่างมาก
ลำาสี ล้าน แก่ ชวนชั่ว ฯลฯ เนื้อหาของเรื่องดำาเนิน พ.ศ. 2531 ดังจะเห็นได้ว่ากว่านวนิยายแต่ละเรื่องจะนำาเสนอ
ไปที่ฉากของจังหวัดภูเก็ตในยุคสามสิบปีที่ผ่านมา ที่ แรกเริ่มเดิมทีหนังสือเรื่องนี้ ชาติ กอบจิตติ สู่สาธารณะจะใช้เวลาในการสร้างสรรค์นานหลายปี
ทะเลภูเก็ตยังคงเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำาหรับชาวต่าง ลังเลใจว่าจะใช้ชื่ออะไรระหว่าง “พันธุ์หมาบ้า” หรือ แต่ทุกครั้งก็ได้รับผลสำาเร็จเป็นที่น่าพอใจ
ชาติเป็นส่วนใหญ่ ชีวิตของตัวละครแต่ละตัวมีที่มาที่ “คนเหล่านั้น” แต่สุดท้ายคุณนันทวัน หยุ่น ก็ช่วยตัดสิน ชาติมีผลงานออกมาแล้ว 15 เล่ม และ
ไปที่เข้ามาเกี่ยวเนื่องกัน แม้ภาษาและพฤติกรรมของ ใจว่าชื่อ “พันธุ์หมาบ้า” ด้วยเหตุผลที่ว่า “เรื่องนี้ ใช้ งานทุกเล่มของ ชาติ กอบจิตติ พิมพ์ใต้ชื่อ
ตัวละครในเรื่องจะเป็นภาษาดิบๆ หยาบๆ มีแต่ภาพ คำ หยาบเยอะ ก็บอกเสียแต่ชื่อเรื่องว่ามันหยาบ รับได้ก็ สำานักพิมพ์หอน สำานักพิมพ์ของเขาเอง โดย
ของการดื่มเหล้า สูบกัญชา แต่ภาพเหล่านี้ก็สะท้อน รับ รับไม่ได้ก็อย่าอ่าน” ทุกเล่มเลือกใช้กระดาษปรู๊ฟเพื่อลดต้นทุนในการ
เรื่องราวที่เกิดขึ้นและให้กลิ่นของฉากและบรรยากาศ ชาติเคยเล่าว่า พันธุ์หมาบ้า ได้แรงบันดาลใจมา ผลิตเพื่อให้ราคาหนังสือไม่แพงจนเกินไป เป้า
ของเรื่องได้อย่างชัดเจน เรื่องเริ่มที่ชวนชั่วลงไปหา จากหนังสือ 2 เล่ม คือ “หลายชีวิต” ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ หมายดังกล่าวนั้นชาติทำาขึ้นเพราะต้องการสร้าง
อ๊อตโต้ที่ภูเก็ตเพื่อหาข้อมูลในการเขียนนิยาย ฉาก ปราโมช และ “บางลำ ภูสแควร์” ของ ‘รงค์ วงษ์สวรรค์’ นักอ่าน โดยเฉพาะนักอ่านรุ่นใหม่ เขาจึงไม่
เริ่มต้นนั้นเองที่ทำาให้เพื่อนสองคนหลั่งไหลเรื่องราว จึงนำ เรื่องราวในหมู่เพื่อนมาบันทึกไว้ในรูปแบบนวนิยาย ต้องการให้ราคาหนังสือเป็นอุปสรรคต่อผู้รักการ
สู่กัน อ๊อตโต้เล่าถึงชีวิตของตัวเอง และเพื่อนๆ โดยประเด็นหลักของหนังสือคือ “เรื่องของเพื่อน ไม่ใช่ อ่านวรรณกรรมไทย เขาเคยกล่าวเกี่ยวกับการอ่าน
จนกลายเป็นที่มาของนวนิยายเล่มหนาเล่มนี้ เรื่องการใช้ชีวิต” ไว้ว่า “ไม่มีใครเสียคนเพราะอ่านหนังสือ”
114 115