Page 30 - ebook history
P. 30

ʧ¤ÃÒÁàÇÕ´¹ÒÁ







       สงครามเวียดนาม หรือ สงครามอินโดจีนครั้งที่สอง หรือที่ชาวเวียดนามรูจักกัน
       ในชื่อ สงครามอเมริกา เปนสงครามตัวแทนสมัยสงครามเย็นที่เกิดขึ้นในประเทศ

       เวียดนาม ลาวและกัมพูชาตั้งแตเดือนธันวาคม พ.ศ.2498 กระทั่งกรุงไซงอน

       แตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2518 สงครามเวียดนามนี้เกิดขึ้นหลังสงคราม

       อินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และมีเวียดนามเหนือซึ่งไดรับการสนับสนุนจากจีน สหภาพ

       โซเวียตและพันธมิตรคอมมิวนิสตอื่นเปนคูสงครามฝายหนึ่ง กับรัฐบาลเวียดนาม
       ใตซึ่งไดรับการสนับสนุนจากสหรัฐและประเทศที่ตอตานคอมมิวนิสตอื่นเปนคู

       สงครามอีกฝายหนึ่งเวียดกง (หรือ แนวรวมปลดปลอยแหงชาติ) เปนแนวรวม

       ประชาชนคอมมิวนิสตเวียดนามใตที่ติดอาวุธเบาซึ่งมีเวียดนามเหนือสั่งการ สูรบ

       ในสงครามกองโจรตอกําลังตอตานคอมมิวนิสตในภูมิภาค กองทัพประชาชน
       เวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) ตอสูในสงครามตามแบบมากกวา และ

       บางครั้งสงหนวยขนาดใหญเขาสูยุทธการ เมื่อสงครามดําเนินไป สวนการตอสู

       ของเวียดกงลดลงขณะที่บทบาทของกองทัพประชาชนเวียดนามเพิ่มขึ้น กําลัง

       สหรัฐและเวียดนามใตอาศัยความเปนเจาเวหาและอํานาจการยิงที่เหนือกวาเพื่อ
       ดําเนินปฏิบัติการคนหาและทําลาย ซึ่งรวมถึงกําลังภาคพื้นดิน ปนใหญและการ

       โจมตีทางอากาศ ตลอดหวงสงคราม สหรัฐดําเนินการทัพทิ้งระเบิดทาง

       ยุทธศาสตรขนานใหญตอเวียดนามเหนือ และตอมานานฟาเวียดนามเหนือ

       กลายเปนนานฟาที่มีการปองกันหนาแนนที่สุดในโลก

                      การมีสวนรวมทางทหารของสหรัฐยุติลงเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2516

       อันเปนผลมาจากคําแปรญัตติเคส–เชิรช (Case–Church Amendment) ที่

       รัฐสภาสหรัฐผาน[35] การยึดกรุงไซงอนโดยกองทัพประชาชนเวียดนามในเดือน
       เมษายน 2518 เปนจุดสิ้นสุดของสงคราม และมีการรวมชาติเวียดนามเหนือกับ

       เวียดนามใตในปตอมา สงครามนี้คราชีวิตมนุษยไปมหาศาล ประเมินตัวเลข

       ทหารและพลเรือนชาวเวียดนามที่ถูกสังหารมีตั้งแตนอยกวา 1 ลานคนเล็กนอย

       [36] ไปถึงกวา 3 ลานคน[23][37] ชาวกัมพูชาเสียชีวิตราว 2-3 แสนคนชาวลาว

       เสียชีวิต 20,000-200,000 คนและทหารชาวอเมริกันเสียชีวิตในขอพิพาทนี้
       58,220 นาย
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35