Page 33 - ebook history
P. 33

การยึดครองซอนโดยฝรั่งเศสและญี่ปุนดําเนินมากระทั่งกําลัง

       เยอรมนีถูกขับออกจากฝรั่งเศสและเจาหนาที่อาณานิคมอินโดจีนฝรั่งเศสเริ่มตน

       เจรจาทางลับกับฝรั่งเศสเสรี ดวยเกรงวาพวกตนไมอาจเชื่อใจเจาหนาที่ฝรั่งเศส
       ไดอีกตอไป กองทัพญี่ปุนจึงกักตัวเจาหนาที่และทหารฝรั่งเศสในวันที่ 9 มีนาคม

       พ.ศ.2488 และสถาปนารัฐหุนเชิดจักรวรรดิเวียดนาม ภายใตสมเด็จพระ

       จักรพรรดิบาว ดั่ยแทน

                      ระหวางป พ.ศ.2487–2488 เกิดทุพภิกขภัยรุนแรงทางเหนือของ

       เวียดนามเนื่องจากสภาพอากาศเลวและการแสวงหาประโยชนของฝรั่งเศสและ

       ญี่ปุนประกอบกัน เพราะอินโดจีนฝรั่งเศสตองจัดสงธัญพืชแกญี่ปุน มีผูเสียชีวิต

       เพราะการอดอยากระหวาง 400,000 ถึง 2 ลานคน จากประชากรในพื้นที่ที่
       ไดรับผลกระทบ 10 ลานคน ในเดือนมีนาคม พ.ศ.2488 เวียดมินหอาศัยชองวาง

       ทางการปกครองซึ่งเกิดจากการกักตัวเจาหนาที่ฝรั่งเศสหนุนใหประชาชนปลน

       คลังขาวและปฏิเสธไมจายภาษี มีคลังสินคาถูกปลนระหวาง 75 ถึง 100 แหง

       การกบฏตอผลกระทบแหงทุพภิกขภัยและเจาหนาที่ซึ่งรับผิดชอบตอภัยดังกลาว
       บางสวนเสริมความนิยมของเวียดมินห และเวียดมินหสามารถระดมสมาชิกได

       เปนจํานวนมากในชวงนี้


                      ระหวางเดือนสิงหาคม พ.ศ.2488 กองทัพญี่ปุนยังไมมีความ
       เคลื่อนไหว ขณะที่เวียดมินหและกลุมชาตินิยมอื่นยึดสถานที่ราชการและอาวุธ

       ซึ่งเริ่มการปฏิวัติเดือนสิงหาคม เจาหนาที่โอเอสเอสเขาพบโฮจิมินหและ

       นายทหารเวียดมินหอื่นหลายครั้งในชวงนี้ และเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ.2488

       โฮจิมินหประกาศอิสรภาพสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามตอหนาฝูงชน
       500,000 คนในฮานอย เขาเริ่มสุนทรพจนโดยถอดความคําประกาศอิสรภาพ

       สหรัฐวา "มนุษยทุกคนถูกสรางขึ้นมาอยางเทาเทียมกัน และพระผูสรางไดมอบ

       สิทธิบางประการที่จะเพิกถอนมิไดไวใหแกมนุษย ในบรรดาสิทธิเหลานั้นไดแก

       ชีวิต เสรีภาพและการเสาะแสวงหาความสุข"
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38