Page 90 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 90

82

                          อารยธรรมของชาติตะวันตก ที่สงผลตอสังคมไทย คือ ความกาวหนาของเทคโนโลยีและ

               การศึกษา รวมทั้งภาษา คานิยม การบันเทิง นันทนาการตาง ๆ ยิ่งปจจุบัน ความเจริญในการคมนาคม
               ขนสงสื่อสารตาง ๆ รวดเร็ว เปนโลกไรพรมแดน สงผลใหอารยธรรมตะวันตกเขามาสูสังคมไทยอยาง

               รวดเร็ว ยิ่งในปจจุบันอารยธรรมตาง ๆ ในเอเชียที่เขมแข็ง เริ่มมีอิทธิพลตอสังคมไทยที่สําคัญ คือ
               ญี่ปุน เกาหลี

                          จากการศึกษา ประวัติ ความเปนมา ของวัฒนธรรมไทย จะพบวา มีการเปลี่ยนแปลงตลอดมา
               ทุกยุคทุกสมัย แตอยางไรก็ตาม วัฒนธรรมไทยที่ยังคงอยูสืบทอดมาจนถึงปจจุบัน แสดงถึงความดี

               ความมีประโยชนตอสังคมไทย จึงยังคงสิ่งเหลานั้นอยู ที่สําคัญ คือ อาหารไทย ภาษาไทย การแตงกายไทย
               มารยาทไทย ประเพณีไทย และการมีศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติ การมีพระมหากษัตริยเปน

               สถาบันที่สําคัญของประเทศไทย

                     2.2  เหตุผลและความจําเปนในการอนุรักษและการสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี

                          ความกาวหนาทางเทคโนโลยี สงผลการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของแตละประเทศ ทําให

               ตองอนุรักษ และสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี
                          การเปลี่ยนแปลงเปนลักษณะธรรมชาติของสังคมมนุษย  และยอมเกิดขึ้นในทุกสังคม  แต

               จะเร็วหรือชาขึ้นอยูกับกาลเวลา และอาจเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นหรือเลวลงก็ได


                          ประเภทของการเปลี่ยนแปลงเราอาจจําแนกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคม
               ออกเปน 2 ประเภท คือ

                          1) การเปลี่ยนแปลงทางสังคม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงโครงสรางของสังคม และระบบ
               ความสัมพันธของกลุมคน เชน ความสัมพันธในครอบครัว ระหวางพอแม ลูก นายจาง เปนตน

                          2) การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงวิถีการดําเนินชีวิต ความรู
               ความคิด คานิยม อุดมการณ และบรรทัดฐานทางสังคม ซึ่งรวมถึงขนบธรรมเนียมประเพณีตาง ๆ ของ
               สังคม โดยรับวัฒนธรรมของตนเองบางอยาง


                          ปจจัยที่เปนสาเหตุที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม

                          มีปจจัยหลัก 2 ประการ  ดังนี้
                          1) ปจจัยภายในสังคม หรือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากสาเหตุภายในสังคม หมายถึง การ

               เปลี่ยนแปลงที่เกิดจากสมาชิกหรือสิ่งแวดลอมภายในสังคม นั่นเอง เชน การที่สังคมมีประชากร
               เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ยอมทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในดานการตั้งถิ่นฐาน ที่อยูอาศัย เกิดการบุกรุก

               ที่ดิน และการทําลายทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มขึ้น เปนตน
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95