Page 143 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 143

143



                                 2.  ผลิตภัณฑเคมีบางอยางตองเก็บในที่แหง  สะอาด  มีอากาศถายเทดี  และมีอุณหภูมิไมเกิน
                   46   C
                                 3.  ผลิตภัณฑเคมีตองเก็บใหหางจากอาหารและภาชนะบรรจุอาหาร

                                 4.  ไมควรเก็บผลิตภัณฑเคมีวางซอนกันสูงเกินกวา 5 เมตร
                                 5.  หามสูบบุหรี่ในคลังพัสดุ  ยกเวนบริเวณที่กําหนดให

                                 6.  พนักงานตองสวมถุงมือ หนากาก รองเทาและเสื้อแขนยาวขณะปฏิบัติงานซึ่งสัมผัสกับ
                   สารเคมีโดยตรง
                                 7.  ผลิตภัณฑเคมีที่ตกหลนตามพื้นใหกวาดเก็บใสถังอยางระมัดระวังเพื่อนําไปทําลายหรือ

                   ฝงดินในบริเวณที่กําหนด  ถาเปนผลิตภัณฑชนิดเหลวใหใชทรายแหงกลบแลวกวาดเก็บไปฝงดิน  หามลางดวยน้ํา
                                 8.  ผลิตภัณฑเคมีทุกชนิดตองปดฉลากทุกกลองกอนนําเขาเก็บในคลังพัสดุ

                                 9.  คลังเก็บผลิตภัณฑเคมี  ตองปดกุญแจหลังจากเลิกงาน



                   การเกิดไอเคมีไวไฟ
                                 การเกิดไอเคมีไวไฟในโรงงาน  หมายถึง  การปลอยไอเคมีไวไฟจํานวนมาก  ซึ่งอาจลุกติดไฟ

                   หรือระเบิดเมื่อมีแหลงที่กอใหเกิดประกายไฟ  หรืออาจเกิดจากการลุกไหมของสารเคมีหรือกาซที่มีจุดวาบไฟ
                   (Flash  Point)  ต่ําและมีชวงไวไฟกวาง
                                 จุดวาบไฟ (Flash  Point)  ของสารเคมีเหลว  คือ  อุณหภูมิต่ําสุดที่สารเคมีนั้นจะให     ไอเคมีที่

                   สามารถผสมกับอากาศเปนสวนผสมที่พรอมจะลุกไหมเมื่อมีแหลงเกิดประกายไฟ
                                 ชวงไวไฟ (Flammability  Limit)  คือ  ชวงระหวางความเขมขนต่ําสุด  และสูงสุดของไอเคมีใน
                   อากาศซึ่งจะเกิดการลุกไหมไดเมื่อมีแหลงเกิดประกายไฟ  สวนผสมของไอเคมีและอากาศที่ต่ํากวาชวงไวไฟนี้จะ

                   เจือจางเกินไปที่จะลุกไหมได  และในทํานองเดียวกันสวนผสมที่สูงกวาชวงไวไฟนี้จะเขมขนเกินไปที่จะติดไฟ

                                 เมื่อเกิดกลุมไอเคมีจํานวนมาก  หามพนักงานเขาไปในบริเวณที่เกิดไอเคมีนั้น  ควรรับแจง
                   หนวยดับเพลิงประจําโรงงานเตรียมพรอมเพื่อทําการชวยเหลือทันที


                                 วิธีปฏิบัติเมื่อเกิดกลุมไอเคมี
                                 1.  ปลอดภัยไวกอน  เมื่อพบไอเคมีจํานวนมากไมวาจะเกิดจากการหกราดบนพื้น  หรือเกิด

                   จากการรั่วจากทอสงเคมีหรือจากถังเคมีตาง ๆ หากมีขอสงสัยใหสมมุติไวกอนวากําลังเกิดกลุมไอเคมีไวไฟ  อยา
                   เสียเวลาไปหาเครื่องวัดประมาณไอเคมี  เพราะกวาจะรู  ประมาณไอและอากาศก็มีมากเพียงพอที่จะลุกไหมหรือ

                   ระเบิดได  และก็เปนเวลาที่ทานไดเขาไปอยูในกลุมไอเคมีไวไฟเสียแลว
                                 2.  ออกไปใหพนจากบริเวณที่เกิดกลุมไอเคมีไวไฟทันที  และรับแจงใหหัวหนางานหรือ

                   ผูจัดการทราบ
                                 3.  ใหใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อไลไอเคมี  โดยใชหัวฉีดน้ําจากตูดับเพลิงในกรณีที่เกิดกลุมไอ
                   เคมีไวไฟบริเวณรีแอกเตอร  ใหเปดวาลวน้ําปลอยน้ําจากหัวฝกบัวซึ่งติดตั้งอยูเหนือรีแอกเตอรเพื่อ     ไลไอเคมี
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148