Page 154 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 154
154
- ลักษณะที่ 1 ผิวหนังแดง
- ลักษณะที่ 2 เกิดแผลพอง
- ลักษณะที่ 3 ทําลายชั้นผิวหนังเขาไปเปนอันตรายถึงเนื้อเยื่อที่อยูใตผิวหนัง บางครั้ง
ผูบาดเจ็บจะมีอาการช็อก
การปฐมพยาบาล
บาดแผลในลักษณะที่ 1 และ 2 ซึ่งไมสาหัส ใหปฐมพยาบาลดังนี้
- ประคบดวยความเย็นทันที
- ใชน้ํามันทาแผลได และปดแผลดวยผาที่สะอาด ใชผาพันแผลพันแตอยา
ใหแนนมาก
บาดแผลในลักษณะที่ 3 ใหปฐมพยาบาลดังนี้
- ถาผูบาดเจ็บมีอาการช็อก รีบใหการปฐมพยาบาลอาการช็อกกอน
- หามดึงเศษผาที่ถูกไฟไหมซึ่งติดอยูกับรางกายออก
- นําผูบาดเจ็บสงโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุดเทาที่จะทําได
กระดูกเคลื่อน
สาเหตุ
กระดูกเคลื่อนเกิดขึ้นเพราะปลายกระดูกขางหนึ่งซึ่งประกอบกันเขาเปนขอตอ เคลื่อนที่หลุด
ออกจากเสนเอ็นที่หุมหอบริเวณขอตอไว
อาการ
- ตึงและปวดมากบริเวณขอตอที่หลุด
- ขอตอจะมีรูปราง และตําแหนงผิดไปจากเดิม
การปฐมพยาบาล
- จัดใหผูบาดเจ็บอยูในทาที่สบายที่สุด
- หามกด หรือทําใหขอตอนั้นเคลื่อนไหวเปนอันขาด
- นําผูบาดเจ็บสงแพทยใหเร็วที่สุด
- การเคลื่อนยายผูบาดเจ็บควรใชเปลหาม
กระดูกหัก
กระดูกหักมีอยู 2 แบบ คือ
1. กระดูกหักชนิดธรรมดา หรือชนิดปด ไดแก การมีกระดูกหักเพียงอยางเดียว
ไมแทงทะลุผิวหนังออกมา
2. กระดูกหักชนิดมีบาดแผล หรือชนิดเปด ไดแก การมีกระดูกหักแลวแทงทะลุ
ผิวหนังออกมา หรือวัตถุจากภายนอกแทงทะลุผิวหนังเขาไปกระทบกับกระดูก ทําใหกระดูกหัก