Page 151 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 151

151



                                 ประการที่ 4   อันตรายจากความรอน แสง เสียง ความสั่นสะเทือน เกษตรกรอาจเปน
                   ตะคริว ออนเพลีย หรือเปนลม อันเนื่องมาจากการไดรับความรอนที่มาจากแสงอาทิตย หรือไดรับเสียงดังจาก

                   เครื่องจักรกล ซึ่งมีผลตอสุขภาพจิตดวย รวมทั้งเกิดอาการหูตึง หรือหูหนวกได อันตรายจาก         แสงจา ซึ่งพบ
                   มากทําใหเกิดตอ สูญเสียการมองเห็น และในการใชเครื่องจักรก็มีปญหา การสั่นสะเทือนจากเครื่องจักร เชน รถ
                   แทรกเตอร เครื่องเกี่ยวขาว เครื่องไถ เครื่องเจาะ เลื่อยไฟฟา ความสั่นสะเทือนมีอันตรายตอมือและแขน ทําใหเกิด

                   อาการปวดขอตอ เมื่อยลา ระบบยอยอาหารผิดปกติ กระดูกอักเสบ        วิธีปองกันอันตรายเหลานี้ไดแก
                                     •  การสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล เชน ถุงมือ อุดหู
                                     •  การปองกันเกี่ยวกับความรอน ทําไดโดยใหสวมเสื้อผาหนา แขนยาว แตเปนผาที่

                                         ระบายอากาศไดดี
                                     •  ดื่มน้ําผสมเกลือใหเขมขน ประมาณ 0.1%

                                     •  หยุดพักระหวางงานบอยขึ้น หากอากาศรอนจัดมาก

                                 ประการที่ 5   อุบัติเหตุในงานเกษตรกรรม เชน การถูกของมีคมบาด ไดแก มีด ขวาน เคียว

                   เมื่อเกิดบาดแผลเกษตรกรไมมีเวลาที่จะทําความสะอาดแผลหรือปฐมพยาบาลโดยทันที โอกาสที่จะไดรับเชื้อโรค
                   เชน โรคบาดทะยัก จึงพบบอย และเปนสาเหตุการตายที่สําคัญหรือการใชเครื่องยนตที่ใชไฟฟาก็อาจเกิดไฟฟาดูด
                   หรือเกิดการไหมตามผิวหนังขึ้นได ซึ่งควรตองเรียนรูเรื่องการใชไฟฟาใหถูกตองดวย นอกจากนี้ยังมีอันตรายจาก

                   การใชเครื่องยนต เชน เชือก โซ สายพาน หนีบหรือบีบอัด ทําใหมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นที่นิ้วมือเปนสวนใหญ
                                 โรคจากการทํางานที่สําคัญและพบบอยที่สุดในเกษตรกรคือ การปวดหลังจากการทํางานอัน

                   เนื่องมาจากทาทางการทํางานที่ฝนธรรมชาติ ทําใหเกิดอาการปวดเมื่อยกลามเนื้อ การปวดเมื่อยกลามเนื้อที่เกิดขึ้น
                   ซ้ํา ๆ ทุกวัน เรียกวา โรคบาดเจ็บซ้ําซาก หรือโรคบาดเจ็บซ้ําบอย สามารถแกไขได
                   ควรจะไดเรียนรูวิธีการหาเครื่องทุนแรงหรือประยุกตวิธีการทํางานเพื่อบรรเทาอาการเหลานั้นใหลดนอยลง

                   ตัวอยางเชน การใชเครื่องหวานเมล็ดพืชแทนการกมเงยในการหวานโดยคนก็จะทําใหการทํางานเปนสุขขึ้นได

                   เรื่องที่  2  การปฐมพยาบาลเบื้องตน


                                 การปฐมพยาบาล คือ การใหการชวยเหลือเบื้องตนตอผูประสบอันตราย หรือเจ็บปวย ณ
                   สถานที่เกิดเหตุกอนที่จะถึงมือแพทย หรือโรงพยาบาล เพื่อปองกันมิใหเกิดอันตรายแกชีวิต หรือเกิดความพิการ

                   โดยไมสมควร

                   วัตถุประสงคของการปฐมพยาบาล

                                 1.  เพื่อใหมีชีวิตอยู
                                 2.  เพื่อไมใหไดรับอันตรายเพิ่มขึ้น

                                 3.  เพื่อใหกลับคืนสูสภาพเดิมไดโดยเร็ว
                   หลักทั่วไปในการปฐมพยาบาล
                                 1.  อยาตื่นเตนตกใจ และอยาใหคนมุง เพราะจะแยงผูบาดเจ็บหายใจ

                                 2.  ตรวจดูวาผูบาดเจ็บยังรูสึกตัว หรือหมดสติ
                                 3.  อยากรอกยา หรือน้ําใหแกผูบาดเจ็บในขณะที่ไมรูสึกตัว
   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156