Page 155 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 155

155



                   อาการ
                     -              บวม

                     -              เวลาเคลื่อนไหวจะเจ็บบริเวณที่ไดรับอันตราย
                     -              ถาจับบริเวณที่ไดรับอันตรายจะรูสึกนุมนิ่ม และอาจมีเสียงปลายกระดูกที่หักเสียดสีกัน
                     -              อวัยวะเบี้ยวบิดผิดรูป

                   การปฐมพยาบาล
                     -              อยาเคลื่อนยายผูประสบอันตราย นอกจากจะจําเปนจริง ๆ การเคลื่อนยาย

                   อาจทําใหบาดเจ็บมากขึ้นไปอีก
                     -              คอยระวังใหปลายกระดูกที่แตกอยูนิ่ง ๆ
                     -              ปองกันอยาใหเกิดอาการช็อก

                     -              ถากระดูกที่หักแทงทะลุผิวหนังออกมาขางนอก ใหหามเลือดโดยใชนิ้วกด
                   หรือใชสายสําหรับรัดหามเลือด
                                 -  ใชผาปดแผลที่สะอาด ปดปากแผล หรือกระดูกที่โผลออกมา

                                 -  ถามีความจําเปนที่จะตองเคลื่อนยายผูบาดเจ็บ ควรใชเฝอกชั่วคราว
                   สายคลองแขน หมอน และเปล

                                 เฝอกชั่วคราวอาจทําดวยวัตถุใด ๆ ก็ไดที่อยูใกลมือ เชน กระดาน  มวนหนังสือพิมพ มวนฟาง
                   หรือรม ใหผูกเฝอกกับแขน หรือขาตรงที่หักทั้งขางลาง และขางบน และถาสามารถทําไดใหผูกมัดดจากที่ ๆแตก
                   ไปทั้งสองขาง จะทําใหเฝอกชั่วคราวแข็งแรงขึ้น ใชกระดาษ   ผา สําลี หรือวัตถุอื่น ๆ ที่คลายกันรองเฝอก เพื่อให
                   บริเวณที่ไดรับอันตรายอยูในระดับเดียวกัน ซึ่งการทําวิธีนี้เฝอกจะพอดี ไมกดกระดูกบางแหงมากเกินไป สําหรับ

                   การใสเฝอกที่แขนหรือขานั้น ควรใสใหรอบทุกดานดีกวาใสเฉพาะดานใดดานหนึ่ง และใหใชผาเปนชิ้น ๆ หรือ

                   เชือกที่เหนียว ๆ ผูกเฝอก แตผาสําหรับผูกในยามฉุกเฉินที่ดีที่สุดก็คือ ผาพันแถบยาว ๆ
                     -              บางครั้งกอนจะเขาเฝอกจําเปนตองเคลื่อนยายผูบาดเจ็บบางเล็กนอย ควรจะใหใครคนหนึ่ง
                   จับแขน หรือขาสวนที่อยูเหนือ และสวนที่อยูต่ํากวาบริเวณที่กระดูกนั้นหักใหอยูนิ่ง ๆ สวนคนอื่น ๆ ใหชวยกัน
                   รับน้ําหนักของรางกายไว วิธีที่ดีที่สุดก็คือ ใชเปลหาม

                     -              กระดูกสันหลัง หรือคอหัก หรือสงสัยวาจะหัก จะตองใชความระมัดระวังเปนพิเศษ ถาคน
                   เจ็บหมดสติอาจจะไมรูวากระดูกคอ หรือกระดูกสันหลังหัก นอกจากผูทําการ
                   ปฐมพยาบาลนั้นจะมีความรูในเรื่องนี้เปนพิเศษ กระดูกหักธรรมดาอาจจะกลายเปนกระดูกหักชนิดมีบาดแผลได

                   ถาหากไมระมัดระวังในการเคลื่อนยายผูบาดเจ็บ ดังนั้น หากสามารถทําไดควรงดเวนการเคลื่อนยายใด ๆ จนกวา
                   แพทยจะมาทําการชวยเหลือ

                                              การเคลื่อนยายผูที่กระดูกคอหัก


                     -              เมื่อจะทําการเคลื่อนยายผูบาดเจ็บที่กระดูกคอหัก ใหเอาบานประตู หรือแผนกระดานกวาง
                   ๆ มาวางลงขางคนเจ็บ ใหปลายกระดานเลยศีรษะคนเจ็บไปประมาณ 4 นิ้ว เปน   อยางนอย
                     -              ถาผูบาดเจ็บนอนหงาย ใหใครคนหนึ่งคุกเขาลงเหนือศีรษะ ใชมือทั้งสองจับศีรษะไวใหนิ่ง

                   ๆ เพื่อใหศีรษะ และหัวไหลเคลื่อนไหวเปนจังหวะเดียวกันกับรางกาย สวนคนอื่น ๆ จะเปนคนเดียว หรือหลายคน
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160