Page 133 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 133

132




                            กระแสน ้าเย็น  ไหลผ่านบริเวณใดก็จะท าให้อากาศแถบนั้นมีความหนาวเย็น แห้งแล้ง  เป็น
                     กระแสน ้าที่ไหลมาจากเขตละติจูดสูง (บริเวณตั้งแต่ เส้นอาร์กติกเซอร์เคิลถึงขั้วโลกเหนือ และบริเวณ

                     เส้นแอนตาร์กติกเซอร์เคิลถึงขั้วโลกใต้) เข้ามายังเขตอบอุ่น และเขตร้อนจึงท าให้กระแสน ้าเย็นลงหรือ

                     อุณหภูมิต ่ากว่าน ้าที่อยู่โดยรอบ

                            กระแสน ้าอุ่นและกระแสน ้าเย็น  จะน าพาอากาศร้อนและอากาศหนาวมา  ท าให้เกิดฤดูกาลที่
                     เปลี่ยนไปตามธรรมชาติ  ถ้าไม่มีกระแสน ้าอากาศก็จะวิปริตผิดเพี้ยนไป  ร้อนและหนาวมากผิดฤดู

                     ส่งผลให้พืชไม่ออกผล เกิดพายุฝนที่รุนแรง และแปรปรวน

                            นอกจากนี้  ยังมีผลต่อความชื้นในอากาศ คือ ลมที่พัดผ่านกระแสน ้าอุ่นมาสู่ทวีปที่เย็น จะท าให้
                     ความชื้นบริเวณนั้นมีมากขึ้น และมีฝนตก ในขณะที่ลมที่พัดผ่านกระแสน ้าเย็นไปยังทวีปที่อุ่นจะท าให้

                     อากาศแห้งแล้ง  ชายฝั่งบางที่จึงมีอากาศแห้งแล้ง บางที่ก็เป็นทะเลทราย  แต่ถ้ากระแสน ้าอุ่นกับ

                     กระแสน ้าเย็นไหลมาบรรจบกันจะท าให้เกิดหมอก
                            หากขาดกระแสน ้าทั้งสองชนิดนี้  ก็จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงของอากาศ  แต่ในบางพื้นที่

                     กระแสน ้าก็ไม่มีผลต่ออุณหภูมิเพราะไม่มีทั้งกระแสน ้าอุ่น และกระแสน ้าเย็นไหลผ่าน เช่น ประเทศไทย

                            เมื่อน ้าแข็งที่ขั้วโลกละลาย น ้าทะเลก็จะเจือจางลง ท าให้กระแสน ้าอุ่น และกระแสน ้าเย็นหยุด
                     ไหล เมื่อหยุดไหลแล้วก็จะไม่มีระบบหล่ออุณหภูมิของโลก โลกของเราก็จะเข้าสู่ยุคน ้าแข็งอีกครั้งหนึ่ง

                     หรือไม่ก็เกิดภาวะน ้าท่วมโลก



                     สมบัติของอากาศ

                     1. ความหนาแน่นของอากาศ
                         ความหนาแน่นของอากาศ คือ อัตราส่วนระหว่างมวลกับปริมาตรของอากาศ

                            1.1 ที่ระดับความสูงจากระดับน ้าทะเลต่างกัน อากาศจะมีความหนาแน่นต่างกัน

                             1.2 เมื่อระดับความสูงจากระดับน ้าทะเลเพิ่มขึ้น ความหนาแน่นของอากาศจะลดลง
                         1.3 ความหนาแน่นของอากาศจะเปลี่ยนแปลงตามมวลของอากาศ อากาศที่มวลน้อยจะมีความ

                     หนาแน่นน้อย

                       1.4 อากาศที่ผิวโลกมีความหนาแน่นมากกว่าอากาศที่อยู่ระดับความสูงจากผิวโลกขึ้นไป เนื่องจากมี
                           ชั้นอากาศกดทับผิวโลกหนากว่าชั้นอื่นๆ และแรงดึงดูดของโลกที่มีต่อมวลสารใกล้ผิวโลก

                     2. ความดันของอากาศ

                            ความดันของอากาศหรือความดันบรรยากาศ คือ ค่าแรงดันอากาศที่กระท าต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่
                     ที่รองรับแรงดันนั้น

                            - เครื่องมือวัดความดันอากาศ เรียกว่า บารอมิเตอร์

                            - เครื่องมือวัดความสูง เรียกว่า แอลติมิเตอร์
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138