Page 137 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 137
136
เรื่องที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
ลม (Wind) คือ มวลของอากาศที่เคลื่อนที่ไปตามแนวราบ กระแสอากาศที่เคลื่อนที่ใน
แนวนอน ส่วนกระแสอากาศคือ อากาศที่เคลื่อนที่ในแนวตั้ง การเรียกชื่อลมนั้นเรียกตามทิศทางที่ลม
นั้นๆ พัดมา เช่น ลมที่พัดมาจากทิศเหนือเรียกว่า ลมเหนือ และลมที่พัดมาจากทิศใต้เรียกว่า ลมใต้ เป็น
ต้น ในละติจูดต ่าไม่สามารถจะค านวณหาความเร็วลม แต่ในละติจูดสูงสามารถค านวณหาความเร็วลม
ได้
การเกิดลม
สาเหตุเกิดลม คือ
1. ความแตกต่างของอุณหภูมิ
2. ความแตกต่างของหย่อมความกดอากาศ
หย่อมความกดอากาศ(Pressure areas)
- หย่อมความกดอากาศสูง หมายถึง บริเวณที่มีความกดอากาศสูงกว่าบริเวณข้างเคียง
ใช้ตัวอักษร H
- หย่อมความกดอากาศต ่า หมายถึง บริเวณที่มีความกดอากาศต ่ากว่าบริเวณข้างเคียง
ใช้ตัวอักษร L
ชนิดของลม ลมแบ่งออกเป็นชนิดต่าง ๆ คือ
- ลมประจ าปีหรือลมประจ าภูมิภาค เช่น ลมสินค้า
- ลมประจ าฤดู เช่น ลมมรสุมฤดูร้อน และลมมรสุมฤดูหนาว
- ลมประจ าเวลา เช่น ลมบก ลมทะเล
- ลมที่เกิดจากการแปรปรวนหรือลมพายุ เช่น พายุฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน
ลมผิวพื้น
ลมผิวพื้น (Surface Winds) คือ ลมที่พัดจากบริเวณผิวพื้นไปยังความสูงประมาณ 1 กิโลเมตรเหนือ
พื้นดิน เป็นบริเวณที่มีการคลุกเคล้าของอากาศ และมีแรงฝืดอันเกิดจากการปะทะกับสิ่งกีดขวางร่วม
กระท าด้วย ในระดับต ่าแรงความชันความกดอากาศในแนวนอนจะไม่สมดุลกับแรงคอริออลิส แรงฝืด
ท าให้ความเร็วลมลดลง มีผลให้แรงคอริออลิสลดลงไปด้วย ลมผิวพื้นจะไม่พัดขนานกับไอโซบาร์ แต่
จะพัดข้ามไอโซบาร์จากความกดอากาศสูงไปยังความกดอากาศต ่า และท ามุมกับไอโซบาร์ การท ามุม
นั้นขึ้นอยู่กับความหยาบของผิวพื้น ถ้าเป็นทะเลที่ราบเรียบจะท ามุม 10 ถึง 20 แต่พื้นดินท ามุม 20 ถึง 40
ส่วนบริเวณที่เป็นป่าไม้หนาทึม อาจท ามุมถึง 90 มุมที่ท ากับไอโซบาร์อยู่ในระดับความสูง 10 เมตร
เหนือผิวพื้น ที่ระดับความสูงมากกว่า 10 เมตร ขึ้นไป แรงฝืดลดลง แต่ความเร็วลมจะเพิ่มขึ้น มุมที่ท า