Page 158 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 158

157




                     ตั้งแต่ 3 - 130 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แต่ส่วนใหญ่จะเคลื่อนที่ค่อนข้างช้าประมาณ 18 - 28 กิโลเมตรต่อ
                     ชั่วโมง ทั้งนี้ พายุนี้มีอายุไม่ยืนยาวนัก คืออยู่ในช่วง 2 - 20 นาที จากนั้นก็จะสลายตัวไปในอากาศอย่าง

                     รวดเร็ว

                            อย่างไรก็ตาม ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผอ.ศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์วิจัย และฝึกอบรม

                     การเปลี่ยนแปลงของโลก แห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  กล่าวถึงปรากฏการณ์พายุงวงช้างว่า
                     ปรากฏการณ์ดังกล่าวส่วนใหญ่มักจะเกิดในน ้า โดยเฉพาะในทะเลจะเห็นบ่อยกว่าในน ้าจืด  ส าหรับ

                     ประเทศไทยเคยเกิดปรากฏการณ์นี้ขึ้น แต่ไม่บ่อยนัก และไม่เป็นอันตราย  เพราะมีขนาด 1%  ของพายุ

                     ทอร์นาโด

                            ฝนกรด  การเผาผลาญน ้ามันเชื้อเพลิงจะส่งผลให้ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และไนโตรเจน

                     ออกไซด์เกิดขึ้น  ก๊าซเหล่านี้จะลอยสูงขึ้นในชั้นบรรยากาศจากโรงงานอุตสาหกรรม  โรงผลิตไฟฟ้ า

                     ยานพาหนะและแพร่กระจายลงในน ้า ซึ่งจะระเหยเป็นเมฆและรวมตัวกันเป็นกรดตกลงมาเรียกว่า ฝน
                     กรด ฝนกรดอาจสร้างความเสียหายโดยตรงให้แก่ต้นไม้ ถ้าน ้าในแม่น ้าและทะเลสาบกลายมาเป็นกรด

                     พืชและสัตว์จะไม่สามารถด ารงชีวิตอยู่ได้  ฝนกรดยังสร้างความเสียหายให้กับอาคาร และสิ่งปลูก

                     สร้างด้วย



































                                                      ภาพ :  การเกิดฝนกรด
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163