Page 369 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 369

368




                     11. ค าศัพท์ทางไฟฟ้ า
                            ช่างไฟฟ้าทุกคนจะต้องเข้าใจค าจ ากัดความทั่วไปของค าศัพท์ที่ใช้ในทางช่างไฟฟ้ า เพื่อให้การ

                     สั่งวัสดุอุปกรณ์ และการอ่านรายละเอียดของวัสดุอุปกรณ์ของบริษัทผู้ผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ    ผู้สั่ง

                     และผู้อ่านจะต้องมีความคุ้นเคยกับภาษาที่ใช้ในทางช่างไฟฟ้าด้วย ดังนั้นจึงควรอ่านค าจ ากัดความแต่ละ

                     ค าอย่างระเอียดให้เข้าใจ และควรพลิกดูค าเหล่านี้ทุกครั่งเมื่อมีความจ าเป็น นอกจากนี้ยังมีรายละเอียด
                     เกี่ยวกับค านิยามของค าศัพท์เหล่านี้เพิ่มเติมในท้ายเล่มของหนังสือเล่มนี้ด้วย

                            พลังงาน (energy) : ความสามารถในการท างาน

                            ก าลังม้า (horsepower) : หน่วยวัดการท างานของเครื่องจักรกลพวกมอเตอร์และเครื่องยนต์ เรา
                     จะใช้อักษรย่อ HP หรือ hp แทน โดยทั่วไปก าลังม้านี้จะใช้บ่งบอกเอาท์พุทของมอเตอร์ไฟฟ้า

                            ไฟฟ้ า (electricity) : การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนผ่านตัวน าไฟฟ้า

                            ตัวน าไฟฟ้ า (conductor) : สสารที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวมันเองได้ง่าย

                            ความน าไฟฟ้ าหรือความเป็นสื่อไฟฟ้ า  (conductance)  :  ความสะดวกสบายต่อการไหลผ่าน

                     ของกระแสไฟฟ้าในวงจร
                            ฉนวนไฟฟ้ า  (insulator)  :  วัตถุที่มีคุณสมบัติด้านต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้า  อาจจะ

                     กล่าวได้ว่าสสารนั้น ขัดขวางการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน

                            อ านาจแม่เหล็ก (magnetism) : คุณสมบัติอย่างหนึ่งของสสารที่แสดงอ านาจดึงดูดเหล็กได้
                            ขั้วไฟฟ้ า (polarity) : คุณสมบัติของประจุไฟฟ้าที่แสดงออกมา ซึ่งจะมีค่าเป็นบวกหรือเป็นลบ

                            แม่เหล็กไฟฟ้ า  (electromagnet)  :  ขดลวดตัวน าไฟฟ้ าที่แสดงอ านาจหรือคุณสมบัติทาง

                     แม่เหล็กเมื่อมีกระแสไฟฟ้า ไหลผ่านขดลวดนั้น

                            ขดปฐมภูมิ (primary)  :  ขดลวดของหม้อแปลงไฟฟ้ า ซึ่งต่ออยู่กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ าและรับ

                     พลังงาน นั้นก็คือด้านรับไฟฟ้าข้าวของหม้อแปลงไฟฟ้า
                            ขดทุติยภูมิ (secondary) : ขดลวดของหม้อแปลงไฟฟ้าที่ติดอยู่กับโหลด (ภาระทางไฟฟ้ า) โดย

                     จะรับพลังงานด้วยหลักการเหนี่ยวน าทางอ านาจแม่เหล็กไฟฟ้ าจากขดลวดปฐมภูมิไปสู่โหลดนั้นก็คือ

                     ด้านจ่ายไฟออกของหม้อแปลงไฟฟ้า
                            ก าลังไฟฟ้ า (electric power) : อัตราการผลิตหรือใช้พลังงานทางทาวงไฟฟ้าในหนึ่งหน่วยเวลา

                            วัตต์ (watt) : หน่วยวัดก าลังไฟฟ้ า เราเรียนอักรย่อตัวพิมพ์ใหญ่ W แทน ก าลังไฟฟ้ ามีจะเป็น

                     อักษรบอกพลังงานไฟฟ้าที่มีอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละตัวในการท างาน อย่างเช่น หลอดไฟ 1,000 วัตต์ เครื่อง

                     ปิ้งขนมปัง 1,000 วัตต์
                            กิโลวัตต์ (kilowatt) : หน่วยก าลังไฟฟ้ าที่มีค่าเท่ากับ 1,000 วัตต์ เราใช้ตัวย่อว่า KW เพราะเหตุ

                     ว่าในทางปฏิบัตินั้นโหลด หรือภาระทางไฟฟ้ ามีจ านวนมากๆ จึงมีค่าวัตต์สูงๆ หน่วยวัตต์ซึ่งท าให้การ

                     เรียกหรือบันทึกค่ายุ่งยากและเสียเวลา  เราจึงนิยมใช้กิโลวัตต์ซึ่งเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้นนี้แทน  และยังมี
   364   365   366   367   368   369   370   371   372   373   374