Page 370 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 370

369




                     หน่วยใหญ่กว่ากิโลวัตต์อีกก็คือ เมกกะวัตต์ (megawatt) ซึ่งเท่ากับ 1,000 กิโลวัตต์ หรือเขียนย่อๆ ว่า 1
                     MW

                            กิโลวัตต์ – ชั่วโมง (kilowatt – hour) : หน่วยวัดการใช้ก าลังไฟฟ้ าในเวลา 1 ชั่วโมง เราจ าใช้

                     อักษรย่อพิมพ์ตัวใหญ่ KWH  แทน  ปกติแล้วการใช้พลังงานไฟฟ้ าตามบ้านจะวัดค่าออกจากเครื่องวัด

                     พลังงาน (หรือที่เราเรียกกันว่า หม้อมิเตอร์) มีหน่วยเป็นกิโลวัตต์ – ชั่วโมง หรือที่เรียกกันว่า ยูนิต (unit)
                     แล้วคิดราคาไฟฟ้าที่เราต้องจ่ายเท่ากับ จ านวนยูนิตที่เราต้องใช้คูณด้วยราคาไฟฟ้าต่อหนึ่งยูนิต

                            ไฟฟ้ ากระแสสลับ (alternating  current)  :  ระบบไฟฟ้ าที่ทิศทางการวิ่งของอิเล็กตรอนมีการ

                     สลับไปมาตลอดเวลา เราใช้สัญลักษณ์แทนด้วยอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ AC และมักนิยมใช้เป็นระบบไฟฟ้า
                     ตามบ้าน อาคาร โรงงานทั่วๆ ไป

                            ไฟฟ้ ากระแสตรง (direct  current)  :  ระบบไฟฟ้ าที่อิเล็กตรอนมีการวิ่งไปทางเดียวกัน

                     ตลอดเวลา และต่อเนื่องกัน  มักจะพบว่าใช้กันอยู่ทั่วๆ ไป ก็คือ เครื่องชาร์จแบตเตอรี่ ถ่านไฟฉาย

                     แบตเตอรี่รถยนต์เป็นต้น ใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ DC เป็นสัญลักษณ์แทน
                            วงจรไฟฟ้ า (circuit)     :     ทางเดินไฟฟ้ าที่ต่อถึงกัน และไฟฟ้ าไหลผ่านได้ดี

                     วงจรอนุกรมหรือวงจรอันดับ  (series  circuit)  :  วงจรไฟฟ้ าที่มีทางเดินไฟฟ้ าได้เพียงทางเดียว  จาก

                     แหล่งจ่ายไฟฟ้าผ่านวงจรไฟฟ้าไปครบวงจรอีกขั้วของแหล่งจ่ายไฟ และในวงจรนี้อาจจะมีอุปกรณ์พวก

                     ฟิวส์ สวิตซ์ เซอร์กิต – เบรกเกอร์ โดยต่อเป็นวงจรอันดับเข้าไปเพื่อป้ องกัน และควบคุมวงจร
                            วงจรขนาน (parallelcircuit):วงจรไฟฟ้ าที่มีทางเดินไฟฟ้ าของกระแสไฟฟ้ าผ่านได้มากกว่า 1

                     ทางเดินขึ้นไป และจะมีอุปกรณ์เช่นพวกเต้าเสียบหลอดไฟต่อขนานกัน  และข้อดีของวงจรก็คือ ถ้า

                     อุปกรณ์ตัวหนึ่งตัวใดไม่ท างาน ขัดข้องหรือเสียขึ้นมา วงจรทางเดินไฟฟ้าจะไม่ขนาน ซึ่งตรงกันข้ามกับ
                     วงจรอนุกรม อุปกรณ์ในวงจรขนานตัวอื่นๆ ยังคงท างานได้ต่อไปดังรูปที่2













                                                          รูปวงจรขนาน
                            วงจรเปิด (open circuit) : สภาวการณ์ที่ทางเดินไฟฟ้าเกิดขาดวงจร เกิดวงจร หรือไม่ตลบวงจร

                     ท าให้กระแสไฟฟ้าไหลไม่ได้

                            วงจรลัด (short  circuit)  :  สภาวการณ์ที่เกิดมีการลัดวงจรทางเดินของกระแสไฟฟ้ า  อัน

                     เนื่องมาจากรอยต่อของสายต่างๆ พลาดถึงกัน มีกระแสไฟฟ้ารั่วต่อถึงกัน เป็นต้น
   365   366   367   368   369   370   371   372   373   374   375