Page 48 - ภาษาไทย ม.ต้น
P. 48

48 | ห น า



                         หลอนรวยแต เปลือก  หมายถึง ไมร่ํารวยจริง
                         มีความเปรียบเทียบกับคุณสมบัติของสิ่งที่นํามากลาว เชน

                         เขาเปนสิงห ส นาม หมายถึง เปนคนเลนกีฬาเกง

                           1.2  ความหมายของสํานวน

                                  สํานวนเปนขอความที่มีความหมายพิเศษไปจากคําที่ประกอบอยูในขอความนั้น
                  ไมไดมีความหมายตามรูปคํา  ความหมายของสํานวนมีลักษณะเปนเชิงเปรียบเทียบโดยอาศัยนัยของ

                  ความหมายตามลักษณะหรือคุณสมบัติของขอความนั้น เชน

                                  ออยเขาปากชาง หมายถึง ของตกไปอยูในมือผูอื่นแลวไมมีทางไดคืน
                                  ไกแกแมปลาชอน หมายถึง ผูที่มีความจัดจานเจนสังเวียน

                                  วัวหายลอมคอก หมายถึง เมื่อเกิดความเสียหายแลวจึงหาทางปองกัน

                                  กินขาวตมกระโจมกลาง หมายถึง การพูดถึงสิ่งสุดวิสัยที่จะทําได
                                  สวนตางๆ  ที่นําไปกลาวเปรียบเทียบใหเขากับสถานการณ  เรียกวา  คําพังเพย

                  เชน เมื่อของหายแลวจึงคิดหาทางปองกัน ก็เปรียบวา วัวหายลอมคอก เปนตน

                                  ความหมายของสํานวนมีลักษณะเหมือนความหมายโดยนัย  คือ  ตองตีความ  หรือ

                  แปลความหมายตามนัยของคําหรือขอความนั้นๆ
                         2.  การเขาใจลักษณะของขอความ

                           ขอความแตละขอความตองมีใจความอันเปนจุดสําคัญของเรื่อง  ใจความของเรื่องจะ

                  ปรากฏที่ประโยคสําคัญ  เรียกวา  ประโยคใจความ  ประโยคใจความจะปรากฏอยูในตอนใดของ

                  ขอความก็ได  โดยปกติจะปรากฏในตอนตางๆ ดังนี้
                           ปรากฏอยูในตอนตนของขอความ ตัวอยางเชน

                           “ภัยอันตรายที่จะเปนเครื่องทําลายชาติอาจเกิดขึ้นและมีมาไดทั้งแตภายนอก  ทั้งที่ภายใน

                  อันตรายที่จะมีมาตั้งแตภายนอกนั้นก็คือ  ขาศึกศัตรูยกมาย่ํายีตีบานตีเมืองเรา การที่ขาศึกศัตรูจะมาตี
                  นั้นเขายอมจะเลือกหาเวลาใดเวลาหนึ่งซึ่งชาติกําลังออนอยูและมิไดเตรียมตัวไว  พรอมเพื่อตอสู

                  ปองกันตนเพราะฉะนั้นในบทที่ 2 ขาพเจาจึงไดเตือนทานทั้งหลายอยาไดเผลอตัว แตขอสําคัญที่สุด

                  เปนเครื่องทอนกําลังและเสียหลักความมั่นคงของชาติ  คือ  ความไมสงบภายในชาตินั้นเอง  จึงควร
                  อธิบายความขอนี้สักหนอย

                  (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว  ปลุกใจเสือปา)


                         ปรากฏอยูในตอนกลางของขอความ ตัวอยางเชน

                         “อันความรัก  ความชัง  ความโกรธ  ความกลัว  ความขบขัน  เหลานี้เปนสามัญ  ลักษณะของ
                  ปุถุชนใครหัวเราะไมเปน  ยิ้มไมออก ก็ออกจะพิกลอยู  คนสละความรักความชังไดก็มีแตพระอรหันต

                  อารมณความรูสึกดังนี้เปนธรรมชาติของมนุษย  กวีและนักประพันธยอมจะแตงเรื่องยั่วเยาอารมณ
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53