Page 49 - ภาษาไทย ม.ต้น
P. 49

ห น า  | 49



                  ความรูสึกเหลานี้ และถาเขาแตงเปน แตงดี ก็จะปลุกอารมณของผูอานผูฟงใหเกิดขึ้น  ทานคงจะเคย
                  เห็นคนอานเรื่องโศกจับใจจนน้ําตาไหล สงสารตัวนางเอก พระเอก อานเรื่องขบขันจนหัวเราะทองคัด

                  ทองแข็ง  ทั้งๆ  ที่รูวามันเปนเรื่องอานเลน   และคนที่อานก็ไมไดมีสวนเสียอะไรกับตัวนาง  ก็พลอย

                  โศกเศราไปดวยได   อยางไรก็ดีความเศราของอารมณอันเกิดจากความยั่วเยาของศิลปะวรรณคดี

                  ตลอดจนนาฏกรรมตางๆ  นั้น เปนความสุขชนิดหนึ่ง มิฉะนั้นเรื่องทํานองโศกนาฏกรรมคงจะไมมี
                  ใครดูเลย”

                  (นายตํารา  ณ  เมืองใต ภาษาและวรรณคดี)
                         ปรากฏใจความอยูทายยอหนา ตัวอยางเชน

                         “ทานกลาววา คนเปนสัตวที่เรียนรูคือ รูดู เห็นอะไรแลวเมื่อเห็นวาดีก็เอาไว ถาเห็นวาไมดีก็

                  ไมเอาและหลีกเลี่ยง เด็กรูรสหวาน ก็อยากไดอีก ถารูรสขมของบอระเพ็ด หรือเมื่อถูกไฟก็รูสึกรอนจะ
                  ไมตองการกินบอระเพ็ดหรือเขาใกลไฟอีก  นี่เปนเรื่องของการผานพบเคยรูเคยเห็นเรื่องนี้  ตอๆ  มา

                  หลายๆ ครั้ง เกิดความชํานาญจัดเจนขึ้น โลกมีความเจริญกาวหนาเรื่องวัฒนธรรมก็เพราะการผานพบ

                  และการจัดเจนของมนุษย
                  (เสถียรโกเศศ  ชีวิตชาวไทยสมัยกอนและการศึกษาเรื่องประเพณีไทย)


                         ประโยคใจความอยูตอนตนและตอนทายของขอความ ตัวอยางเชน

                         “คนไทยนั้นถือวาบานเปนสิ่งตอชีวิตตั้งแตเกิดไปจนตาย  เพราะคนไทยโบราณนั้นใชบาน

                  เปนที่เกิดการคลอดลูกจะกระทํากันที่บานโดยมีหมอพื้นบานเรียกวา หมอตําแย เปนผูทําคลอด มิได
                  ใชโรงพยาบาลหรือสถานผดุงครรภอยางในปจจุบันนี้ และที่สุดของชีวิตเมื่อมีการตายเกิดขึ้น คนไทย

                  ก็จะเก็บศพของผูตายที่เปนสมาชิกของบานไวในบานกอนที่จะทําพิธีเผา เพื่อทําบุญสวดและเปนการ

                  ใกลชิดกับผูตายเปนครั้งสุดทาย ดังนั้น บานจึงเปนที่ที่คนไทยใชชีวิตอยูเกือบตลอดเวลาตั้งแตเกิดจน

                  ตาย”
                  (วิบูลย ลี้สุวรรณ  “บานไทย” ศิลปะชาวบาน)


                         การเขาใจถึงการปรากฏของประโยคใจความในตอนตางๆ  ของขอความดังที่กลาวแลวจะชวย

                  ใหจับใจความไดดียิ่งขึ้น

                         3.  การเขาใจลักษณะประโยคใจความ

                           เมื่อเขาใจถึงลักษณะของขอความวาตองมีประโยคใจความ  และประกฎอยูในตอนตางๆ
                  ของขอความแลว ตองเขาใจตอไปวาประโยคใจความเปนอยางไร

                           ประโยคใจความคือขอความที่เปนความคิดหลักของหัวขอ   หรือเรื่องของขอความนั้น

                  ตัวอยางเชน
                           หัวขอ              บาน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54