Page 197 - พระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญา
P. 197

๑๘๘




                          ดังนั้น การกระทําความผิดบางกรณีอาจไมผิดตาม พ.ร.บ.ปองกันและปราบปราม
              การคามนุษย พ.ศ.๒๕๕๑ ก็จะใชกฎหมายนั้นดําเนินการ แตหากมีความผิดตาม พ.ร.บ.ปองกันและ

              ปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.๒๕๕๑ รวมอยูดวยก็อาจจะดําเนินการตามฐานความผิดที่เปนบทหนัก
              หรือทุกกรรมทุกวาระตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๐ หรือ มาตรา ๙๑

                          ¡ÒäŒÒÁ¹ØɏáÅСÒÃÅÑ¡Åͺ¢¹¼ÙŒâ¡ŒÒ¶Ôè¹°Ò¹
                          ในการประกอบอาชญากรรมการคามนุษย จะมีลักษณะใกลเคียงกับการลักลอบขน

              ผูโยกยายถิ่นฐาน ซึ่งอาจกอใหเกิดความสับสนแกเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานได ดังนั้น เจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน
              จะตองแยกความแตกตางของอาชญากรรมทั้ง ๒ ประเภท  ใหได เพื่อจะไดชวยเหลือไดทันทวงที และ

              อยางไรที่จะถือไดวา เปนการลักลอบขนผูโยกยายถิ่นฐานนั้น ไดมีพิธีสารเพื่อตอตานการลักลอบขน
              ผูโยกยายถิ่นฐานทางบก ทางทะเลและทางอากาศ ขอ ๒ (a) ไดกําหนดคํานิยามวา

                          “¡ÒÃÅÑ¡Åͺ¢¹¼ÙŒâ¡ŒÒ¶Ôè¹°Ò¹” หมายถึง การจัดใหมีการเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย
              ของบุคคลหนึ่ง  ซึ่งมิใชคนชาติของหรือผูมีถิ่นที่อยูถาวรในรัฐภาคีที่เขาไปนั้น  เพื่อใหไดมา
              ซึ่งผลประโยชนทางการเงิน หรือผลประโยชนทางวัตถุอื่นจากการนั้น ไมวาจะโดยตรงหรือโดยออม

                          จากนิยามดังกลาวจะเห็นไดวา การลักลอบขนผูโยกยายถิ่นฐาน คือ การนําพาบุคคลที่
              ประสงคจะเดินทางเขาไปยังประเทศอื่นเพื่อความมุงประสงคอยางใดอยางหนึ่งโดยไมผานชองทาง

              และวิธีการตามกฎหมายของประเทศนั้นๆ ไดกําหนดไว และเมื่อการดําเนินการดังกลาวสําเร็จบรรลุ
              ตามวัตถุประสงค คือ สามารถนําพาบุคคลที่ประสงคเดินทางเขาประเทศไดเรียบรอยแลว ผูที่รับจาง

              นําพาก็จะไดรับผลตอบแทนเปนเงินหรือผลประโยชนอยางอื่นจากผูประสงคเดินทาง  ดังนั้น
              หากพิจารณาตามหลักกฎหมายของประเทศไทยจะเห็นไดวา ผูรับจาง คือ ผูที่ลงมือกระทําผิด

              โดยผูประสงคเดินทาง คือ ผูใชใหผูอื่นกระทําความผิดนั่นเอง
                          จากนิยามความหมายของ “การคามนุษย” และ “การลักลอบขนผูโยกยายถิ่นฐาน”

              ขางตน จึงเห็นไดวาอาชญากรรมทั้งสองประเภทมีความแตกตางกัน บุคคลที่ถูกนําพาก็มีสถานะ
              ที่แตกตางกัน ทั้งนี้  ความแตกตางที่สําคัญพอจะจําแนกไดดังนี้
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202