Page 203 - พระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญา
P. 203

๑๙๔




                          ÁÒμÃÒ õó/ñ  ถาการกระทําผิดตามมาตรา ๕๒ หรือมาตรา ๕๓ วรรคสอง เปนเหตุ
              ใหผูถูกกระทํา

                          (๑)  รับอันตรายสาหัสหรือเปนโรครายแรงซึ่งอาจเปนอันตรายตอชีวิต ตองระวางโทษ
              จําคุกตั้งแตแปดปถึงยี่สิบป และปรับตั้งแตแปดแสนบาทถึงสองลานบาท หรือจําคุกตลอดชีวิต

                          (๒)  ถึงแกความตาย ตองระวางโทษจําคุกตลอดชีวิต หรือประหารชีวิต มาตรา ๕๓/๒
              เจาของผูครอบครอง หรือผูดําเนินกิจการสถานประกอบกิจการโรงงาน หรือยานพาหนะผูใดฝาฝน

              หรือไมปฏิบัติตามคําสั่งตามมาตรา ๑๖/๒ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือนหรือปรับตั้งแต
              หนึ่งหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

                          ÁÒμÃÒ õó/ò  เจาของผูครอบครองหรือผูดําเนินกิจการสถานประกอบกิจการโรงงาน
              หรือยานพาหนะ ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคําสั่งตามมาตรา ๑๖/๒ ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน

              หกเดือน หรือปรับตั้งแตหนึ่งหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
                          μÑÇÍ‹ҧคํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò¤´Õ¤ŒÒÁ¹Øɏ
                          คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաҷÕè ó÷õó/òõõô

                          การที่จําเลยที่ ๒ รวมกันกับจําเลยที่ ๑ และที่ ๓ ลักลอบนําเด็กทารกขามแดนไปใน
              ประเทศมาเลเซียเพื่อสงใหแกนาง อ. พี่สาวจําเลยที่ ๒ จึงเปนความผิดฐานสมคบกันกระทําความผิด

              เกี่ยวกับการคาเด็ก และฐานรับไว จําหนาย เปนธุระจัดหา และพาเด็กอายุยังไมเกินสิบหาปไปโดยทุจริต
              แตการกระทําดังกลาวเปนการกระทําโดยมีเจตนาเดียวเพื่อจะสงเด็กทารกไปใหนาง อ. จึงเปนการ

              กระทํากรรมเดียว เปนความผิดตอกฎหมายหลายบทซึ่งเปนปญหาขอกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบ
              เรียบรอย และเปนเหตุอยูในสวนลักษณะคดี ศาลฎีกามีอํานาจพิพากษามาตลอดไปถึงจําเลยที่ ๑ และ

              ที่ ๓ ที่มิไดฎีกาตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง และ ๒๑๓ ประกอบมาตรา ๒๒๕ ในระหวาง
              การพิจารณาของศาลฎีกาไดมี พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๓ ยกเลิก

              พ.ร.บ.มาตรการในการปองกันและปราบปรามการคาหญิงและเด็ก พ.ศ.๓๕๔๐ แต พ.ร.บ.ปองกัน
              และปราบปรามการคามนุษย  พ.ศ.๒๕๕๑  มาตรา  ๖(๒)  ยังคงบัญญัติใหการกระทําความผิด

              เกี่ยวกับการคาเด็กตามฟองเปนความผิดโดยมีบทลงโทษตามมาตรา ๕๒ วรรคสาม ระวางโทษจําคุก
              ตั้งแตแปดปถึงสิบหาป และปรับตั้งแตหนึ่งแสนหกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท จึงเปนกรณีกฎหมาย

              ที่ใชในขณะกระทําความผิดแตกตางกับกฎหมายที่ใชในภายหลังการกระทําความผิด แตเนื่องจาก
              ความผิดเกี่ยวกับการคาเด็กตาม พ.ร.บ.มาตรการในการปองกันและปราบปรามการคาหญิงและเด็ก

              พ.ศ.๒๕๔๐ มาตรา ๗ ระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
              จึงเปนกรณีที่กฎหมายที่แกไขใหมไมเปนคุณแกจําเลย ตองใชกฎหมายที่ใชในขณะกระทําความผิด
              บังคับแกจําเลยตาม ป.อ. มาตรา ๓ การที่โจทกมีคําขอทายฎีกาขอใหศาลฎีกาพิพากษาแกคําพิพากษา

              ศาลอุทธรณภาค ๙ ใหลงโทษจําเลยที่ ๑ และที่ ๓ ตามฟอง จึงพอแปลไดวา โจทกขอใหศาลฎีกา

              ลงโทษจําเลยที่ ๑ และที่ ๓ ในความผิดฐานอื่นที่ศาลอุทธรณภาค ๙ พิพากษายกฟองนั่นเอง
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208