Page 216 - การทะเบียนประวัติอาชญากร
P. 216
๒๐๙
๒.๑๕ ผูบังคับการกองพิสูจนหลักฐานกลาง เปนกรรมการ
สํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ
๒.๑๖ ผูบังคับการกองทะเบียนประวัติอาชญากร เปนกรรมการ
สํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ
๒.๑๗ ผูบังคับการกองการตางประเทศ เปนกรรมการ
๒.๑๘ ผูบังคับการกองบินตํารวจ เปนกรรมการ
๒.๑๙ ผูบังคับการกองสารนิเทศ เปนกรรมการ
๒.๒๐ ผูบังคับการอํานวยการ โรงพยาบาลตํารวจ เปนกรรมการ
๒.๒๑ ทันตแพทย (สบ ๕) หัวหนากลุมงานทันตกรรม เปนกรรมการ
โรงพยาบาลตํารวจ
๒.๒๒ นายแพทย (สบ ๕) กลุมงานจิตเวชและยาเสพติด เปนกรรมการ
โรงพยาบาลตํารวจ
๒.๒๓ นายแพทย (สบ ๕) กลุมงานศูนยสงกลับ เปนกรรมการ
และรถพยาบาล โรงพยาบาลตํารวจ
๒.๒๔ ผูบังคับการอํานวยการ เปนกรรมการและเลขานุการ
สํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ
๒.๒๕ ผูกํากับการกลุมงานพิสูจนเอกลักษณบุคคล เปนกรรมการ
สํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ และผูชวยเลขานุการ
ขอ ๓ ใหคณะกรรมการพิสูจนเอกลักษณบุคคลในกรณีภัยพิบัติ มีอํานาจหนาที่ดังนี้
๓.๑ กํากับดูแลการตรวจพิสูจนเอกลักษณของบุคคลกรณีเกิดภัยพิบัติ
๓.๒ พิสูจนเอกลักษณของบุคคลที่เสียชีวิต
๓.๓ วางแผนการปฏิบัติตามขอ ๑ ไวลวงหนา หากมีเหตุการณเกิดขึ้น
จะสามารถถือปฏิบัติไดทันที
๓.๔ จัดใหมีการฝกซอมตามแผนที่กําหนดในขอ ๓.๓ อยางนอยปละ ๑ ครั้ง
โดยรวมกับหนวยงานนอกสังกัดสํานักงานตํารวจแหงชาติดวยก็ได
๓.๕ ประเมินผลการฝกซอมและนําผลการประเมินมาพิจารณาทบทวนปรับปรุง
แผนการปฏิบัติใหเหมาะสมยิ่งขึ้น
๓.๖ แตงตั้งอนุกรรมการเพื่อชวยเหลือในการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ
ตามที่เห็นสมควร เชน อนุกรรมการปลอยศพ ฯลฯ
ขอ ๔ เมื่อประธานคณะกรรมการทราบเหตุอุบัติภัยหรือภัยพิบัติตามขอ ๑ ใหพิจารณา
วาจะตองใหกรรมการ ผูเกี่ยวของ หนวยงาน หรือเจาหนาที่ผูใดไปยังสถานที่เกิดเหตุ แจงเลขานุการ
ประสานกับกรรมการ ผูเกี่ยวของ หนวยงาน หรือเจาหนาที่นั้น เพื่อแจงสถานที่เกิดเหตุ วัน เวลา และ