Page 217 - การทะเบียนประวัติอาชญากร
P. 217
๒๑๐
สถานที่นัดหมายเพื่อเดินทางไปยังสถานที่เกิดเหตุ ในกรณีจําเปนและเรงดวน ใหกองบินตํารวจสนับสนุน
อากาศยานในการเดินทางดวย
ขอ ๕ เจาหนาที่ที่จะตองเดินทางไปยังสถานที่เกิดเหตุโดยเร็วที่สุด ไดแก
๕.๑ พนักงานสอบสวนและตํารวจในทองที่ที่เกิดเหตุระดับหัวหนาสถานีตํารวจ
ขึ้นไป
๕.๒ กรรมการพิสูจนเอกลักษณบุคคลที่ไดรับแจงจากเลขานุการ
๕.๓ เจาหนาที่หรือหนวยงานที่ไดรับการประสาน
ขอ ๖ ใหตํารวจชั้นผูใหญที่มีอาวุโสสูงสุดที่ปฏิบัติหนาที่ในสถานที่เกิดเหตุเปนผูออก
คําสั่ง หากมีขอสงสัยใดใหขอรับคําแนะนําจากคณะกรรมการพิสูจนเอกลักษณบุคคลในกรณีภัยพิบัติ
เพื่อใหการปฏิบัติงานมีเอกภาพดังตอไปนี้
๖.๑ คนหาผูบาดเจ็บเพื่อชวยชีวิตเปนอันดับแรก ใหระบุเลขหมายและชื่อ
(ถาทราบ) ติดไวกับตัวแลวเคลื่อนยายไปยังสถานพยาบาล
๖.๒ หามเคลื่อนยายศพจนกวาการชันสูตรพลิกศพเบื้องตน การตรวจ
สถานที่เกิดเหตุและการถายภาพไดดําเนินการแลว
๖.๓ ใหรีบติดบัตรเลขหมายและระบุเพศเทาที่จะทําได โดยเขียนดวยหมึก
ชนิดไมละลายนํ้า (Permanent Ink) ไวกับตัวศพทุกศพ หามติดกับเปลหามหรือผาที่ใชหอศพ
๖.๔ เก็บทรัพยสินสวนตัวของผูตายรวมไวในที่เดียวกับศพซึ่งเปนเจาของ
ขณะเคลื่อนยายศพใหระมัดระวังความสับสนเกี่ยวกับทรัพยสินที่ติดอยูกับศพ ถามีความสงสัยใด ๆ
วาวัตถุชิ้นใดอาจไมใชทรัพยสินของศพใดก็ควรบันทึกไวใหชัดเจน เพราะการระบุเจาของทรัพยสิน
ผิดพลาดอาจทําใหการพิสูจนเอกลักษณของบุคคลนั้นผิดไปดวย
๖.๕ ใหพิจารณาและบันทึกรายละเอียดของผูบาดเจ็บและศพแตละราย
โดยระบุตําแหนงที่พบและสถานที่ที่นําสงและผูนําสง
๖.๖ หามเคลื่อนยายวัตถุพยานหรือซากหักพังจนกวาพนักงานเจาหนาที่ผูออก
คําสั่งจะอนุญาต เวนแตมีเหตุจําเปนอยางยิ่ง
๖.๗ สําหรับรายละเอียดการปฏิบัติตอจากนี้ ใหปฏิบัติตามคูมือการปฏิบัติงาน
ในการจัดการกรณีเกิดภัยพิบัติได
ขอ ๗ หนาที่ของกรรมการจากโรงพยาบาลตํารวจ ใหแพทยรวมกับพนักงานสอบสวน
ในการตรวจพิจารณารับศพหรือชิ้นสวนของศพและเก็บรวบรวมวัตถุที่ติดมากับศพหรือชิ้นสวน
ของศพนั้น โดยมีเจาหนาที่กลุมงานพิสูจนเอกลักษณบุคคล สํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ
รวบรวมขอมูลทั้งหมด ดังนี้
๗.๑ ตรวจสภาพศพเบื้องตน ตรวจทรัพยสินและวัตถุที่ติดมากับศพทุกชิ้น
และเก็บรวบรวมไวในถุงหรือภาชนะปดผนึก โดยเขียนหมายเลขประจําตัวศพกํากับไวหรือเก็บไว