Page 220 - การทะเบียนประวัติอาชญากร
P. 220
๒๑๓
๑๐.๑.๙ ตรวจพิสูจนลายพิมพนิ้วมือ ฝามือ ฝาเทาของศพกับตัวอยาง
ลายพิมพนิ้วมือ ฝามือ ฝาเทา เพื่อยืนยันตัวบุคคล
๑๐.๑.๑๐ ตรวจตัวอยางสารพันธุกรรมและตรวจพิสูจนเปรียบเทียบ
สารพันธุกรรม
๑๐.๑.๑๑ ตรวจพิสูจนวัตถุพยานอื่น ๆ ที่สามารถเชื่อมโยงในการพิสูจน
เอกลักษณบุคคลได
๑๐.๒ หนาที่ของกรรมการจากกลุมงานพิสูจนเอกลักษณบุคคล สํานักงานพิสูจน
หลักฐานตํารวจ มีดังนี้
๑๐.๒.๑ ประสานงานไปยังผูบัญชาการตํารวจทองที่เกิดเหตุในฐานะ
กรรมการเพื่อจัดหาที่พักและสถานที่ปฏิบัติการใหแกเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ โดยใชงบประมาณจาก
ตนสังกัดตามสิทธิของเจาหนาที่นั้น และใหเปนหนาที่ของผูบัญชาการตํารวจทองที่เกิดเหตุดําเนินการ
ดังกลาวดวย
๑๐.๒.๒ สนับสนุนการปฏิบัติการของคณะกรรมการและเจาหนาที่
ที่เกี่ยวของ ประสานงานและรวมปฏิบัติงานกับสวนราชการและภาคเอกชน เพื่อใหกระบวนการพิสูจน
เอกลักษณบุคคลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเปนมาตรฐาน
๑๐.๒.๓ ประสานงานและรวมปฏิบัติงานกับสวนราชการและภาคเอกชน
ที่เกี่ยวของในกระบวนการพิสูจนเอกลักษณบุคคลและเพื่อใหการชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติและทายาท
หรือญาติ
๑๐.๒.๔ เก็บรวบรวมขอมูลการชันสูตรศพและขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับศพ
(Post Mortem : PM) จากพนักงานสอบสวน
๑๐.๒.๕ เก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับผูสูญหาย (Ante Mortem : AM)
และพยานหลักฐานตาง ๆ ที่เปนประโยชนแกการตรวจพิสูจนเอกลักษณบุคคล ในกรณีที่มีความจําเปน
ตองรวบรวมขอมูลเพิ่มเติมใหประสานกับตํารวจหรือหนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่เกิดเหตุหรือพื้นที่
เกี่ยวของ
๑๐.๒.๖ ประสานงานกับกองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติ
หรือหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของเพื่อทราบขอมูลที่เกี่ยวกับการตรวจพิสูจนเอกลักษณบุคคล
๑๐.๒.๗ เมื่อไดชื่อ ชื่อสกุลแลวใหประสานงานกับงานทะเบียนประวัติ
อาชญากร ในกรุงเทพมหานครที่กองทะเบียนประวัติอาชญากร ในตางจังหวัดที่ศูนยพิสูจนหลักฐาน
ที่รับผิดชอบพื้นที่เกิดเหตุเพื่อทราบวาบุคคลนั้นมีลายพิมพนิ้วมือเก็บอยูที่กองทะเบียนประวัติอาชญากร
หรือไม
๑๐.๒.๘ ในกรณีบุคคลดังกลาวไมมีชื่อ ชื่อสกุลเก็บอยูที่กองทะเบียน
ประวัติอาชญากร และยังไมสามารถพิสูจนไดวาเปนผูใด ใหกลุมงานพิสูจนเอกลักษณบุคคล สํานักงาน