Page 104 - กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานจราจร
P. 104

๙๗




                            ๔.  มาตรา ๑๖๐ ตรี “ผูใดฝาฝนมาตรา ๔๓ (๒) ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป
                 หรือปรับตั้งแตหาพันบาทถึงสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และใหศาลสั่งพักใชใบอนุญาตขับขี่ของ

                 ผูนั้นมีกําหนดไมนอยกวาหกเดือน หรือเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ ถาการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่ง
                 เปนเหตุใหผูอื่นไดรับอันตรายแกกายหรือจิตใจ ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงหาป
                 และปรับตั้งแตสองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท และใหศาลสั่งพักใชใบอนุญาตขับขี่ของผูนั้นมีกําหนด

                 ไมนอยกวาหนึ่งป หรือเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ ถาการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งเปนเหตุใหผูอื่น
                 ไดรับอันตรายสาหัส ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสองปถึงหกป และปรับตั้งแตสี่หมื่นบาท

                 ถึงหนึ่งแสนสองหมื่นบาท และใหศาลสั่งพักใชใบอนุญาตขับขี่ของผูนั้นมีกําหนดไมนอยกวาสองป
                 หรือเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ ถาการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งเปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย
                 ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามปถึงสิบปและปรับตั้งแตหกหมื่นบาทถึงสองแสนบาท

                 และใหศาลสั่งเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่”
                                 การตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอลในประเทศไทยจะใชวิธีการตรวจวัดลมหายใจเปน

                 อันดับแรก หากไมสามารถดําเนินการไดก็จะตรวจวัดจากปสสาวะและตรวจวัดจากเลือดตามลําดับ
                 ทั้งนี้ เนื่องจากคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ ๑๐ ใหความเห็นวาการเจาะเลือดและการตรวจเลือดเปน
                 การกระทําตอรางกายของบุคคล ซึ่งกระทบตอสิทธิเสรีภาพในชีวิตและรางกายของบุคคลตาม

                 มาตรา ๓๑ ของรัฐธรรมนูญซึ่งใหการรับรองไว และในหลักทั่วไปของการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
                 การกระทําตอรางกายของผูปวยตองไดรับความยินยอมจากผูปวย เวนแตเพื่อประโยชนในการชวยชีวิต

                 ของผูปวยในกรณีฉุกเฉิน ดังนั้น การเจาะเลือดที่กระทําตอรางกายของผูขับขี่ก็ตองไดรับความยินยอม
                 จากผูขับขี่ดวย อยางไรก็ตาม มาตรา ๑๔๒ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
                 ไมไดกลาวถึงการเจาะเลือดไว ดังนั้น การตรวจวัดแอลกอฮอลจากเลือด จึงเปนกรณีที่เกินขอบเขต

                 อํานาจของเจาหนาที่ตํารวจตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๔๒ หากจะใหเจาหนาที่ตํารวจมีอํานาจ
                 ดังกลาว จําเปนจะตองออกกฎกระทรวงเพื่อมารองรับกฎหมายดังกลาว (ไวพจน กุลาชัย และ

                 จินดา กลับกลาย, ๒๕๕๘)


                            ¡ÒÃμÑ駨شμÃǨÇÑ´áÍÅ¡ÍÎÍŏ

                            จุดตรวจ หมายถึง สถานที่ซึ่งเจาหนาที่ตํารวจปฏิบัติหนาที่ตรวจคนเพื่อจับกุมผูกระทํา
                 ความผิดในเขตทางเดินรถหรือทางหลวงในกรณีปกติเปนการชั่วคราวโดยมีการกําหนดระยะเวลา

                 ในการตั้งจุดตรวจเทาที่จําเปนแตตองไมเกิน ๒๔ ชั่วโมง และภายหลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติภารกิจแลว
                 ตองทําการยุบเลิกการตั้งจุดตรวจทันที (วีระวิทย วัจนะพุกกะ, ๒๕๕๖) ทั้งนี้ การตั้งจุดตรวจนั้น
                 จะตองไดรับอนุมัติจากผูบังคับบัญชาระดับผูบังคับการขึ้นไป และมีหลักการสําคัญในการดําเนินการ ดังนี้

                            ๑.  ตั้งจุดตรวจเฉพาะมีกรณีจําเปน มีเหตุการณฉุกเฉินหรือเรงดวน
                            ๒.  ตองมีการประสานการปฏิบัติกับหนวยงานที่เกี่ยวของใหชัดเจน เพื่อปองกันการตั้ง

                 จุดตรวจซํ้าซอน
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109