Page 43 - รายงานประจำปี 56
P. 43

ด้านบริการวิชาการถ่ายทอดเทคโนโลยีและส่งเสริมการผลิตหม่อนไหม



                      1. โครงการบริการและติดตามผลต่อเนื่องการใช้เครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์
                         ผ้าไหมไทย (ตรานกยูงพระราชทาน)

                          กรมหม่อนไหม  ได้จัดทำาข้อบังคับ   เกษตรกรหรือผู้ประกอบการ ที่ยื่นขอรับรองและ/หรือ
                  กรมหม่อนไหมว่าด้วยการใช้เครื่องหมายรับรอง ผู้ที่ได้ใบรับรองตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย

                  ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย พ.ศ. 2554 จำานวน 4 ชนิด  (ตรานกยูงพระราชทาน) จำานวน 93,712.10 เมตร
                  ได้แก่ Royal Thai Silk Classic Thai Silk Thai  และผ้าไหมไทยผ่านการตรวจประเมินตามาตรฐาน
                  Silk และThai Silk Blend ซึ่งประกาศใช้ไปตั้งแต่ ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย (ตรานกยูงพระราชทาน) ร้อยละ
                  วันที่ 26 พฤษภาคม 2554 รวมทั้งได้มีการขอขึ้น 88.50 รวมทั้งได้จัดอบรมโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติ

                  ทะเบียนเครื่องหมายรับรองในต่างประเทศรวม  35  การเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจสอบคุณภาพผ้าไหมตรานกยูง
                  ประเทศ  ซึ่งกรมหม่อนไหมสามารถให้บริการตรวจ พระราชทาน จำานวน 120 ราย
                  ประเมินและติดตามกระบวนการผลิตผ้าไหมไทยของ



                                                        จำานวนผ้าไหมหรือผลิตภัณฑ์ผ้าไหม
                         ชนิด         แผน                 ที่เข้ารับการตรวจประเมิน              รวม
                                     (เมตร)           ผ่าน                     ไม่ผ่าน
                                                 เมตร         %           เมตร       %


                   Royal Thai Silk            17,490.90     83.52      3,450.81     16.48    20,941.71
                   Classic Thai Silk   70,000   4,989.25    80.46      1,211.76     19.54     6,201.01
                   Thai Silk                  57,920.06     90.49      6,084.52     9.51     64,004.58
                   Thai Silk Blend             2,532.60     98.74       32.20       1.26      2,564.80

                   รวม                        82,932.81     88.50     10,779.29     11.50    93,712.10



                      2. กิจกรรมบริการวิชาการและส่งเสริมการผลิตหม่อนไหม


                          เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพตลอดกระบวนการ ฝึกอบรม  เช่น  ต้นหม่อนพันธุ์ดี  กรรไกรตัดแต่ง
                  ผลิตของเกษตรกร จำานวน 2,377 ราย โดยดำาเนิน กิ่ง  วัสดุบำารุงดิน  ไข่ไหมพันธุ์ดี  อุปกรณ์เลี้ยงไหม

                  การถ่ายทอดเทคโนโลยีและฝึกอบรมให้แก่เกษตรกร  อุปกรณ์สาวไหม อุปกรณ์ลอกกาว - ย้อมสีเส้นไหม
                  รวมทั้งสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ และปัจจัยการผลิตใน อุปกรณ์ทอผ้า ฯลฯ ซึ่งประกอบด้วย 6 หลักสูตร ดังนี้
                  การปลูกหม่อนเลี้ยงไหมให้แก่เกษตรกรที่เข้ารับการ

                                                                             จำานวนเกษตรกร (ราย)

                                  โครงการ/หลักสูตร                       แผน          ผล         %

                   1. โครงการส่งเสริมการผลิตหม่อนไหม                     850         854       100.47
                   2. โครงการปรับโครงสร้างการผลิตหม่อนไหมอุตสาหกรรม      500         500         100
                   3. โครงการยกระดับมาตรฐานการผลิตเครือข่ายวิสาหกิจหม่อนไหม   670    593        88.51
                   4. โครงการหมู่บ้านวิสาหกิจชุมชนต้นแบบผลิตหม่อนไหม     210         210         100
                   5. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการโรคและแมลงศัตรูหม่อน (2 วัน)   180    180         100
                   6. โครงการจัดตั้งกลุ่มต้นแบบผู้ผลิตไหมวัยอ่อน (วัย 1 – 3)   40     40         100

                   รวม                                                  2,450        2,377      98.16

      42                                                                                            กรมหม่อนไหม
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48