Page 40 - รายงานประจำปี 56
P. 40
5. โครงการพัฒนาระบบการตรวจสอบมาตรฐานเส้นไหมสาวมือ
สำานักอนุรักษ์และตรวจสอบมาตรฐาน 3 ระดับ คือ 15 cm/s, 45 cm/s และ 75 cm/s
หม่อนไหมได้ร่วมกับสำานักงานทรัพย์สินส่วน และ ยังสามารถตรวจวัดความสม่ำาเสมอของเส้นไหม
พระมหากษัตริย์ และศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กโทนิกส์ ทุกๆ 1 cm, 5 cm และ 10 cm ตลอดความยาว
และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ศึกษาวิจัยในการพัฒนา ของเส้นไหมในหนึ่งไจ และยังสามารถประเมินระดับสี
เครื่องมือต้นแบบสำาหรับตรวจวัดความสม่ำาเสมอ ของเส้นไหมในหนึ่งไจได้อีกด้วย โดยแสดงค่าระดับสี
ของเส้นไหมเพื่อใช้ในการจัดชั้นคุณภาพมาตรฐาน ออกมา 2 หน่วยที่เป็นที่ยอมรับคือ HSL และ RGB
เส้นไหมไทย ที่อาศัยการผสมผสานองค์ความรู้ทางแสง พร้อมทั้งแสดงตัวอย่างสีที่สอดคล้องกันบนหน้าจอ
อิเล็กทรอนิกส์ และ การประมวลผลภาพ สามารถ แสดงผลด้วย ในการนี้ได้จัดอบรมการใช้งานให้แก่
ตรวจวัดความสม่ำาเสมอของเส้นไหมตลอดความยาว เจ้าหน้าที่กรมหม่อนไหมทั้งในส่วนกลางและส่วน
ของเส้นไหมในหนึ่งไจ โดยมีความเร็วในการตรวจวัด ภูมิภาค จำานวนทั้งสิ้น 18 คน
6. โครงการจัดตั้งธนาคารเชื้อพันธุกรรมไหม
ดำาเนินการเลี้ยงไหมเพื่อรักษาและจัดเก็บ สระบุรี นครราชสีมา ศรีสะเกษ ชุมพร โดยเก็บ
ในพื้นที่ของโครงการจัดตั้งธนาคารเชื้อพันธุกรรมไหม รวบรวม บันทึกข้อมูล และคัดเลือกพันธุ์ไหมที่จะ
เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางพันธุกรรมและชนิด ดำาเนินการอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมไหม พร้อมกันนี้ได้
พันธุ์ไหมที่มีคุณค่าอื่นๆ ที่อนุรักษ์ไว้ได้รับการดำารง ดำาเนินการประเมินคุณค่าของสายพันธุ์ทั้งทางด้าน
รักษา และฟื้นฟูหรือลดการเสื่อมถอยของประชากร การเกษตร รูปทรงสัณฐาน ชีวเคมี เซลล์วิทยา และ
ของไหมแต่ละพันธุ์ (เพื่อรักษาประสิทธิภาพและ โรค รวมทั้งใช้เทคโนโลยีทางชีวโมเลกุลในการคัดเลือก
ลักษณะทางพันธุกรรม) พร้อมทั้งการส่งเสริมการ พันธุ์ไหม ให้ได้ไหมสายพันธุ์แท้ โดยมีเป้าหมายใน
ใช้ประโยชน์และการบริโภคอย่างยั่งยืน โดยดำาเนิน การคัดเลือกเพื่อให้ได้ไหมพันธุ์แท้อย่างน้อยศูนย์ละ
การที่ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ จำานวน 5 10 เชื้อพันธุ์/ปี
แห่ง ได้แก่ ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ น่าน
39
รายงานประจำาปี 2556