Page 37 - รายงานประจำปี 56
P. 37
3. โครงการศูนย์อนุรักษ์พันธุ์หม่อนไหม ไม้ย้อมสีผ้าไหมและ
ภูมิปัญญาหม่อนไหม
3.1 อนุรักษ์พันธุ์หม่อน
ดำาเนินการบริหารจัดการศูนย์อนุรักษ์ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ สัณฐานวิทยา ลักษณะ
พันธุ์หม่อนให้มีแนวทางการดำาเนินงานเป็นรูปแบบ ทางการเกษตร รวมถึงศึกษาลักษณะทางพันธุกรรม
เดียวกัน โดยดำาเนินการในศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระ ในระดับชีวโมเลกุลโดยการวิเคราะห์ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ
เกียรติฯ จำานวน 8 แห่ง ประกอบด้วย ศูนย์เดิม (DNA Fingerprint) ของพันธุ์หม่อนที่ศูนย์ดำาเนิน
6 แห่ง ได้แก่ ศมม. ตาก หนองคาย ศรีสะเกษ การอนุรักษ์ จำานวน 252 พันธุ์ ได้แก่ หม่อนพันธุ์
บุรีรัมย์ อุบลราชธานี กาญจนบุรี และศูนย์ใหม่ 2 พื้นเมือง หม่อนพันธุ์รับรอง หม่อนพันธุ์แนะนำา
แห่ง ได้แก่ ศมม. เชียงใหม่ และนราธิวาส มีการ หม่อนผลสด หม่อนนำาเข้าจากต่างประเทศ หม่อน
เขตกรรมเพื่อดูแลรักษาพันธุ์หม่อน เพื่อใช้เป็นแหล่ง ป่า และหม่อนสายพันธุ์ลูกผสม นอกจากนี้ยังได้จัด
เชื้อพันธุกรรมหม่อนของประเทศไทย และเพื่อนำาไป นิทรรศการหรือพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ด้านหม่อน ซึ่ง
ใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพันธุ์หม่อน เพื่อการวิจัย ประกอบด้วยตัวอย่าง Herbarium หม่อนและข้อมูล
หรือการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมเพื่อเป็นต้น ลักษณะประจำาพันธุ์ของหม่อนอนุรักษ์แต่ละพันธุ์อีก
แบบการจำาแนกพันธุ์หม่อน และรวบรวมข้อมูล ด้วย
3.2 อนุรักษ์พันธุ์ไหม
ดำาเนินการเลี้ยงรักษาพันธุ์ไหมหม่อน
และไหมป่า เพื่อใช้เป็นแหล่งเชื้อพันธุกรรมไหม
ของประเทศไทย จำานวน 10 ศูนย์ ได้แก่ ศมม.
นครราชสีมา ศรีสะเกษ น่าน สกลนคร อุดรธานี
ร้อยเอ็ด สระบุรี อุบลราชธานี มุกดาหาร และ
หนองคาย โดยอนุรักษ์เชื้อพันธุ์ไหม รวม 467 พันธุ์
เป็นเชื้อพันธุ์ไหมชนิดฟักออกตลอดปี (Polyvoltine)
จำานวน 220 เชื้อพันธุ์ ชนิดฟักออกปีละ 2 ครั้ง
(Bivoltine) จำานวน 235 พันธุ์ และเชื้อพันธุ์ไหม
ป่าอี่รี่ จำานวน 12 พันธุ์ ทั้งนี้พันธุ์ไหมที่ศูนย์ดำาเนิน
การอนุรักษ์บางพันธุ์มีการเลี้ยงมากกว่า 1 แห่ง เพื่อ
ป้องกันการสูญพันธุ์ ดังนั้นหากนับรวมเชื้อพันธุ์ไหม
ทุกเชื้อพันธุ์ที่เลี้ยงซ้ำากันในศูนย์หลักและศูนย์รอง จะ
มีจำานวนเชื้อพันธุ์ดังแสดงในตาราง
36 กรมหม่อนไหม