Page 39 - รายงานประจำปี 56
P. 39
3.5 ศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาหม่อนไหม
จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาหม่อนไหม จังหวัดนครราชสีมา การทอผ้าจกไทยวนจังหวัด
และภูมิปัญญาเกี่ยวกับผ้าไหมและผ้าไทย จำานวน สระบุรี การทอผ้าพุมเรียงจังหวัดสุราษฎร์ธานี การ
8 แห่ง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ อนุรักษ์และสนับสนุน ทอผ้าลายปราสาทผึ้งจังหวัดอุบลราชธานี การทอ
ภูมิปัญญาเกี่ยวกับหม่อนไหมให้มีการสืบสานและ ผ้าตีนจกแม่แจ่มจังหวัดเชียงใหม่ การทอผ้าจกไหม
พัฒนา โดยดำาเนินการในพื้นที่ชุมชนที่มีองค์ความ ลายโบราณจังหวัดอุทัยธานี การทอผ้าไหมลาย
รู้และภูมิปัญญาเกี่ยวกับการทอผ้าไหมและผ้าไทย ลูกแก้วย้อมมะเกลือและอบผ้าด้วยสมุนไหรจังหวัด
รวมทั้งกระบวนการที่เกี่ยวเนื่อง ได้แก่ การทอ ศรีสะเกษ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้สืบสานภูมิปัญญา
ผ้ายกมุกจังหวัดนครพนม การทอผ้าหางกระรอก การทอผ้าในชุมชน
4. ศูนย์เรียนรู้เชิงอนุรักษ์ด้านหม่อนไหม ไม้ย้อมสี และผ้าไหม
จัดตั้งศูนย์เรียนรู้เชิงอนุรักษ์ด้านหม่อนไหม ประชาสัมพันธ์เผยแพร่องค์ความรู้ด้านหม่อนไหม
ไม้ย้อมสี และผ้าไหม จำานวน 7 แห่ง ได้แก่ ศูนย์ แก่เยาวชน นักเรียน นักศึกษา เกษตรกรและผู้สนใจ
หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ สระบุรี สกลนคร ทั่วไป มีการดำาเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนาปรับปรุง และ
นครราชสีมา สุรินทร์ ชุมพร (เพิ่,เติมจากปี 2555 อีก สร้างจุดสาธิตเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ ตามเป้าหมาย
2 แห่ง ได้แก่ ขอนแก่น และ ชุมพร เพื่อเป็นแหล่ง แห่งละ 10 จุดเรียนรู้ และการอบรมนักเรียนตาม
ประชาสัมพันธ์เผยแพร่องค์ความรู้ด้านหม่อนไหม โครงการฝึกอบรมค่ายเยาวชนหม่อนไหม รวมทั้งสิ้น
และแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรด้านหม่อนไหมและ 100 ราย
38 กรมหม่อนไหม