Page 22 - <4D6963726F736F667420576F7264202D20C3D2C2A7D2B9BBC3D0A8D3BBD53534E1A1E9E4A220322DCAE8A7E2C3A7BED4C1BEEC2E646F6378>
P. 22
๒๒
๓) แผนงานวิจัยการอนุรักษ์และคุ้มครองพันธุ์หม่อน ไหม ไม้ย้อมสี ผ้าไหม และภูมิปัญญาท้องถิ่น จํานวน
4 โครงการ
๓.๑) โครงการสํารวจ รวบรวม และอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมหม่อนเพื่อการใช้ประโยชน์
๓.๒) โครงการอนุรักษ์และพัฒนาการใช้ประโยชน์จากวัสดุให้สีธรรมชาติ
๓.3) โครงการศึกษาและประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาการย้อมสีจากวัสดุธรรมชาติของชาติพันธุ์และชนเผ่า:
กะเหรี่ยง ไทลื้อ ไทพวน ไทยวน และเมี่ยน
๓.4) โครงการศึกษาและรวบรวมลายผ้าของชาติพันธุ์และชนเผ่า : กะเหรี่ยง ไทลื้อ ไทพวน ไทยวน และเมี่ยน
๔) แผนงานวิจัยพัฒนาการพัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์สิ่งทอจากไหม จํานวน ๒ โครงการ
๔.๑) โครงการศึกษารูปแบบระบบการผลิตเส้นไหมไทยมาตรฐาน มกษ..๘๐๐๐-๒๕๔๘ และประสิทธิภาพ
การผลิตผ้าไหมที่ใช้เส้นไหมมาตรฐาน มกษ. ๘๐๐๐-๒๕๔๘ พัฒนาพันธุ์ไหมหัตถกรรม
๔.๒) โครงการศึกษาพันธุ์พืชที่ให้สีธรรมชาติในเขตภาคใต้
๕) แผนงานวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์หม่อนและไหมในเชิงพาณิชย์ จํานวน 1 โครงการ
๕.๑) โครงการศึกษาวิจัยการผลิตเส้นไหมไทยตามมาตรฐาน มกษ. ๘๐๐๐-๒๕๔๘ ของผู้สาวไหมด้วยมือ
ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
6) การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพจากผลหม่อนและดักแด้ไหม จํานวน 5 โครงการ
6.1) การศึกษาศักยภาพในการแปรรูปผลหม่อนเป็นผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพในการป้องกันการตายของ
เซลล์ประสาทที่เหนี่ยวนําโดยภาวะสมองขาดเลือดในโรคหลอดเลือดสมอง
6.2) การศึกษาศักยภาพในการแปรรูปผลหม่อนเป็นผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพในการป้องกันและลดการ
ทําลายของเซลล์ประสาทและความบกพร่องของความจําใน Alzheimer’s disease model
6.3) การศึกษาพิษวิทยาของสารสกัดผลหม่อน
6.4) การศึกษาศักยภาพในการแปรรูปผลหม่อนเป็นผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพในการป้องกันและลดการ
ทําลายของเซลล์ประสาทจากพิษสุรา
6.5) การศึกษาศักยภาพในการแปรรูปดักแด้ไหมเป็นผลิตภัณฑ์ในการกระตุ้นการเรียนรู้และปกป้องสมอง
7) โครงการวิจัยเดี่ยว จํานวน 2 โครงการ
7.1) โครงการวิจัยเทคโนโลยีการเลี้ยงไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านที่เหมาะสมกับเกษตรกรในแต่ละพื้นที่ของ
ประเทศไทย
7.2) โครงการศึกษาเปรียบเทียบความไวต่อยาต้านจุลชีพของเชื้อ Bacillus turingiensis ที่แยกได้จาก
หนอนไหมที่เป็นโรค