Page 28 - <4D6963726F736F667420576F7264202D20C3D2C2A7D2B9BBC3D0A8D3BBD53534E1A1E9E4A220322DCAE8A7E2C3A7BED4C1BEEC2E646F6378>
P. 28
๒๘
ชนิดของ จํานวนพันธุ์ไหมที่อนุรักษ์พันธุกรรมของศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ ปี ๒๕๕๔ รวม
พันธุ์ไหม นครราชสีมา ศรีสะเกษ อุดรฯ สกลนคร ร้อยเอ็ด น่าน สระบุรี (พันธุ์)
Polyvoltine ๐ ๓๘ ๑๕ ๑๘ ๑๖ ๒๐ ๖ ๑๑๓
Bivoltine ๖๐ ๑๗ ๑๕ ๒๒ ๑๗ ๒๐ ๑๖ ๑๖๗
รวม ๖๐ ๕๕ ๓๐ ๔๐ ๓๓ ๔๐ ๒๒ ๒๘๐
๑.๑.๓ อนุรักษ์ไม้ย้อมสี
ดําเนินการอนุรักษ์ไม้ย้อมสี จํานวน 14 ศูนย์ ศูนย์ละ 54 พันธุ์ โดยศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ
สุรินทร์ เป็นศูนย์หลักการอนุรักษ์ ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ อุดรธานี ขอนแก่น
สกลนคร เลย มุกดาหาร ชัยภูมิ สระบุรี ตาก แพร่ ชุมพร และนราธิวาส เป็นศูนย์รอง โดยรวบรวม ให้บริการพันธุ์
ไม้ย้อมสีหายาก/คุณภาพดี นําพันธุ์ไม้ในสวนไม้ย้อมสี มาย้อมเส้นไหมแล้วนําเส้นไหมที่ย้อมได้จัดแสดงในมุมจัด
แสดง (Natural dye unit) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การให้บริการข้อมูล จัดแสดงให้ความรู้ในอาคาร นิทรรศการ
เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ย้อมสี การใช้ประโยชน์ พร้อมเส้นไหมที่ย้อมด้วยวัสดุธรรมชาติ
๑.๑.๔ อนุรักษ์ผ้าไหม
ดําเนินการศูนย์อนุรักษ์ผ้าไหม จํานวน ๕ แห่ง ได้แก่ ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ มุกดาหาร สุรินทร์
อุดรธานี สกลนคร และเชียงใหม่ โดยการจัดแสดงนิทรรศการผ้าตามคู่มือปฏิบัติงาน จัดทําข้อมูลรายละเอียดภูมิปัญญา
ลวดลายผ้าภายในศูนย์ จัดทําชุดนิทรรศการเกี่ยวกับภูมิปัญญาเพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์และบริการ
ข้อมูลศูนย์อนุรักษ์ผ้าไหม มีผู้เยี่ยมชมศูนย์อนุรักษ์ผ้าไหมรวม 4,834 ราย และสํารวจข้อมูลเกี่ยวกับภูมิปัญญาการทอ
ผ้า ลวดลายผ้าที่เป็นเอกลักษณ์ภูมิปัญญาในท้องถิ่น โดยรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์และสืบค้นรายละเอียดภูมิ
ปัญญาผ้าและลวดลายในด้านต่างๆ ได้แก่ ประวัติความเป็นมาของผ้าแต่ละชนิด ลวดลายและกรรมวิธีการทอ การ
การทําตัวอย่างแห้ง (herbarium) ไม้ย้อมส ีและจัดแสดงเส้นไหมที่ย้อมด้วยพืชชนิดต่างๆ ในศูนย์
นําไปใช้ประโยชน์ ตลอดจนการจัดเก็บตัวอย่างลายผ้า ได้ดําเนินการจัดเก็บข้อมูลซึ่งเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านได้