Page 39 - Ratthasatr Boonpsal
P. 39
29
5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการท างาน
6 กิจกรรมการเรียนรู้
วิธีสอนโดยใช้ กรณีตัวอย่าง
ขั้นที่ 1 เตรียม
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ : – ค าถามกระตุ้นความคิด
1. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด นักเรียนคิดว่า การแบ่งยุคสมัยในหลักฐาน
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการใช้เวลา ทางประวัติศาสตร์ของแต่ละประเทศ
ช่วงเวลา ยุคสมัย และศักราชในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เหมือนกันหรือไม่ อธิบายเหตุผล
โดยครูคอยกระตุ้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดง (พิจารณาตามค าตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน
ความคิดเห็น ดุลยพินิจของครูผู้สอน)
3. ครูอธิบายวิธีการศึกษากรณีตัวอย่างให้นักเรียนเข้าใจ
ขั้นที่ 2 เสนอกรณีตัวอย่าง
สื่อการเรียนรู้ : หนังสือเรียน ประวัติศาสตร์ ม.1 ค าถามกระตุ้นความคิด
1. ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) หลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย แต่ละสมัย
ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ตัวอย่างศักราชในหลักฐานทาง มีการระบุศักราชเหมือนกันหรือไม่ อธิบาย
ประวัติศาสตร์ และตัวอย่างการใช้เวลา ช่วงเวลา และยุค เหตุผล
สมัยที่ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย จากหนังสือ (ไม่เหมือนกัน เพราะในแต่ละสมัยมีการใช้ศักราช
ที่แตกต่างกัน เช่น ในสมัยสุโขทัย นิยมใช้ศักราช
เรียน แบบมหาศักราช ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นนิยม
2. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด ใช้ศักราชแบบรัตนโกสินทร์ศก เป็นต้น)
ขั้นที่ 3 วิเคราะห์
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ : – ค าถามกระตุ้นความคิด
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ตัวอย่างศักราชใน ศักราชที่เก่าแก่ที่สุดที่ปรากฏในหลักฐานทาง
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ และตัวอย่างการใช้เวลา ประวัติศาสตร์ไทย คือ ศักราชใด
ช่วงเวลา และ (มหาศักราช)
ยุคสมัยที่ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย
2. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด