Page 40 - Ratthasatr Boonpsal
P. 40
30
ขั้นที่ 4 สรุป
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ : – ค าถามกระตุ้นความคิด
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ตัวอย่างศักราชใน การระบุมหาศักราช และจุลศักราชในหลักฐาน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ และตัวอย่างการใช้เวลา ทางประวัติศาสตร์ไทย มีความแตกต่างกัน
ช่วงเวลา และยุคสมัยที่ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ อย่างไร
ไทย (การระบุมหาศักราช จะระบุเป็นปีนักษัตร เช่น ปีกุน
2. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด ส่วนการระบุจุลศักราช จะระบุเป็นศก เช่น นพศก)
ขั้นที่ 5 ประเมินผล
สื่อการเรียนรู้ : ใบงานที่ 1.3 ค าถามกระตุ้นความคิด
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันท าใบงานที่ 1.3 เรื่อง การใช้ การศึกษาตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ศักราชในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย เมื่อท าเสร็จ เป็นประจ า มีผลดีต่อการศึกษาประวัติศาสตร์
แล้วช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องและเติมเต็มค าตอบให้ อย่างไรบ้าง
สมบูรณ์ (พิจารณาตามค าตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของครูผู้สอน)
2. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยค าตอบในใบงานที่ 1.3
3. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด
7 การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 1.3 ใบงานที่ 1.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ท างาน
8 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ประวัติศาสตร์ ม.1
2) ใบงานที่ 1.3 เรื่อง การใช้ศักราชในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย
8.2 แหล่งการเรียนรู้
—