Page 90 - JMSD Vol.1 No.2 - 2016
P. 90

Vol.1 No.2 May - August 2016
                Journal of MCU Social Development

                 กินใหม่ จึงอพยพขึ้นไปทางเหนือของประเทศไทย จึงท�าให้มีการกระจายอยู่กันตามจังหวัดต่างๆ
                 เช่นจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดชัยนาท ส่วนที่จังหวัดเพชรบุรี
                 ก็เป็นพื้นที่ที่ชาวไทยทรงด�าอยู่กันหนาแน่นโดยเฉพาะที่ต�าบลหนองปรง อ�าเภอเขาย้อย จนเป็น
                 ที่รู้จักกันในปัจจุบัน จังหวัดราชบุรี มีชาวไทยทรงด�าอยู่ในอ�าเภอจอมบึง อ�าเภอด�าเนินสะดวก
                 และอ�าเภอปากท่อ ที่เขาภูทอง เขตอ�าเภอบางแพที่ดอนคา จังหวัดนครปฐม อยู่ในเขตอ�าเภอ
                 บางเลน และอ�าเภอก�าแพงแสน จังหวัดสุพรรณบุรี
                        ปัจจุบันชื่อที่ชาวพื้นเมืองใช้เรียกตนเองที่จังหวัดเดียนเบียนฟูคือ “ไทด�า” หรือ “ไตด�า”
                 ในสมัยที่ฝรั่งเศสเข้ามาปกครองเวียดนามและลาว พวกเขาได้เรียกชนเผ่าที่อยู่บริเวณลุ่มแม่น�้าด�า
                 ว่า   ไตด�า ที่เรียกว่าไตด�าไม่ใช่ว่าพวกเขาอาศัยอยู่ในบริเวณลุ่มน�้าด�า แต่เพราะว่ากลุ่มชนเผ่าไทดัง
                 กล่าว นิยมสวมเสื้อผ้าสีด�าอันเป็นเอกลักษณ์ ซึ่งย้อมด้วยต้นห้อมหรือต้นคราม การที่เรียกว่า”ลาว
                 โซ่ง” จริงๆแล้วชนชาติพันธุ์ไม่ได้เป็นลาว เหตุที่เรียกเช่นนี้เป็นเพราะว่ามีการอพยพผ่านดินแดน
                 ลาวลงมายังสยาม การเรียกว่า “ชาวโซ่ง” หรือ “ชาวไททรงด�า” จะถูกต้องกว่า เหมือนที่มีการ
                 เรียกคนกลุ่มนี้ในจังหวัดราชบุรีว่า “โซ่ง” หรือ “ไทยทรงด�า” (ยุกตนันท์ จ�าปาเทศ, 2547:23)
                 ดังนั้น การเรียนรู้และสืบสืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัฒนธรรมของชาวไทยทรง
                 ด�าหมู่บ้านดอนคลัง ต�าบลดอนคลัง อ�าเภอด�าเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี เป็นการรักษามรดกทาง
                 วัฒนธรรมที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง สมควรที่จะรักษามรดกอันดีงามส�าหรับอนุชนรุ่นหลังต่อไป


                        ชาวไทยลาวโซ่ง
                        ชาวลาวโซ่งมีถิ่นฐานเดิมอยู่บริเวณกึ่งกลางระหว่างญวนกันอาณาจักรหลวงพระบาท  ซึ่ง
                 ท�าสงคราม  รุกรานกันอยู่เป็นประจ�าชาวลาวโซ่งจึงต้องอพยพโยกย้ายถิ่นฐานเพื่อหนีภัยสงคราม
                 บางกลุ่มโยกย้ายไปอยู่ในถิ่นญวน  บางกลุ่มย้ายเข้าไปอยู่ในอาณาจักรหลวงพระบาท  ทั้งไปเอง
                 โดยสมัครใจและถูกกวาดต้อนไป  รวมทั้งการอพยพเขามายังดินแดนประเทศไทยด้วย
                 ลาวโซ่งที่เข้ามายังประเทศไทยในสมัยธนบุรี  สมเด็จพระเจ้าตาสินมหาราชโปรดให้ตั้งบ้านเรื่อนอ
                 ยู่ที่จังหวัดเพชรบุรีต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว  รัชกาลที่  3  ได้โปรด
                 ให้ชาวลาวโซ่งที่อพยพเข้ามาใหม่ตั้งหลักแหล่งที่บ้านหนองปรงอ�าเภอเขาย้อย  จังหวัดเพชรบุรี
                 ภายหลังเมื่อจ�านวนประชากรเพิ่มมากขึ้น  ชาวลาวโซ่งจึงพากันอพยพโยกย้ายไปตั้งหลักแหล่ง
                 ในพื้นที่ใกล้เคียงและขยายออกไป  ส่วนหนึ่งเข้ามาตั้งหลักแหล่งในจังหวัดราชบุรี  ที่บ้านตลาด
                 ควาย  อ�าเภอจอมบึง  บ้าดอนคลัง  บ้านบัวงาน  บ้านโคกตับเป็ด  อ�าเภอด�าเนินสะดวก  บ้าน
                 ดอนคา  บ้านตากแดด  บ้านดอนพรม  อ�าเภอบางแพ  และที่บ้านเขาภูทอง  อ�าเภอปากท่อ


                        ลาวโซ่ง
                        ลาวโซ่งหรือผู้ไทย เป็นชนชาติไทยกลุ่มหนึ่งซึ่งมีชื่อเรียกกันต่าง ๆ นานาว่าไทยด�า ผู้
                 ไทด�า ไทซงด�า    ผู้ไทซงด�า ผู้ไททรงด�า ลาวทรงด�า ลาวซ่วง ลาวซ่วงด�า ลาวโซ่ง ไทโซ่ง อันมี
                 ข้อสันนิษฐานว่า ที่มีชื่อเรียกมากมายหลายชื่อนั้นก็เนื่องมาจากค�าว่า “โซ่ง ซ่วง หรือส้วง” ใน
                 ภาษาลาวโซ่งแปลว่ากางเกง ค�าว่าลาวโซ่งหรือลาวซ่วง จึงหมายถึงลาวนุ่งกางเกง หรือหมายถึง


                  82
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95