Page 15 - โครงงานประดิษฐ์E-book
P. 15

4. หลักการพัฒนาอุตสาหกรรมแบบยั่งยืน วิธีการลดมลพิษในระบบการผลิตนั้น อาจทําไดดังนี้

                                  -การจัดการที่ดีในการควบคุมตรวจสอบการทํางานของระบบการผลิตใหเกิดของเสียนอยที่สุด
                                  - เปลี่ยนวัสดุการใชหรือปจจัยการผลิต หรือเปลี่ยนสูตรการผลิตที่กอมลพิษ
                                  - ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรการผลิตประสิทธิภาพสูงขึ้น

                                 -หมุนเวียนนําวัสดุกลับมาใชใหมจากของเสียอุตสาหกรรมในประเทศไทยปญหาในการกําจัดของเสียจาก
              โรงงานอุตสาหกรรมก็ยังคงมีอยู  เพราะวาเปนคาใชจายที่สูงมาก  เงื่อนไขที่สําคัญที่จะนําไปสูการพัฒนาอุตสาหกรรม
              แบบยั่งยืน คือความสามารถทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของไทยที่จะจัดการของเสียของตนเอง เพื่อลดความจําเปน
              ในการนําเขาเครื่องจักรกลและเทคโนโลยีราคาแพงจากตางประเทศลง

                             5.  หลักการใชพลังงานอยางยั่งยืน ทุกๆ สวนในสังคมจะตองรวมกันหามาตรการและเปนผูดําเนินการใช
              พลังงานอยางประหยัด
                             6.  หลักการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหยั่งยืน การควบคุมการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติที่
              ประสานกลมกลืนกับธรรมชาติ เปดโอกาสใหกลไกของธรรมชาติดําเนินไปไดอยางตอเนื่อง โดยสามารถรักษาความ

              หลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้นใหดํารงอยูได ในการใชทรัพยากรอยางยั่งยืน จะตองคํานึงถึงการยอยสลายใน
              ระบบนิเวศดวย เพราะกระบวนการยอยสลายจะเปนกระบวนการสําคัญในการทําใหทรัพยากรเหลานั้นไดรับการ
              หมุนเวียนกลับมาใชใหมจึงเปนเรื่องจําเปนที่รัฐบาลจะตองกําหนดแนวทางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหชัดเจน
              โดยจําแนกทรัพยากรตามศักยภาพการใชประโยชนและคุณคาทางนิเวศวิทยาถาเราสามารถใชทรัพยากรอยางยั่งยืน เรา

              ก็จะสามารถมีชีวิตอยูรวมกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ไดอีกมาก ความอุดมสมบูรณของแมน้ําและดิน ความสดชื่นของอากาศและ
              ความสวยงามตามธรรมชาติก็คงจะหวนกลับมาและอยูกับลูกหลานของเราไดตอไป
                             7. การพัฒนาการทองเที่ยวแบบยั่งยืน หมายถึงการพัฒนาที่สามารถตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยว

              และผูเปนเจาของทองถิ่นในปจจุบัน โดยมีการปกปองและสงวนรักษาโอกาสตางๆ ของอนุชนรุนหลังดวย การทองเที่ยวนี้
              มีความหมายรวมถึงการจัดการทรัพยากรเพื่อตอบสนองความจําเปนทางเศรษฐกิจ  สังคมและความงามทางสุนทรียภาพ
              ในขณะที่สามารถรักษาเอกลักษณทางวัฒนธรรมและระบบนิเวศดวย  โดยแนวทางการสรางกรอบนโยบายและแนวทาง
              ปฏิบัติดังนี้
                                  - มุงพัฒนาการทองเที่ยวในประเทศกอนการทองเที่ยวระหวางประเทศ

                                  - ตองคํานึงถึงขีดความสามารถในการรองรับ (Carrying capacity) ทุกๆ ดาน
                                  - ประชาชนในทองถิ่นจะตองมีสวนรวมในการตัดสินใจในโครงการตางๆ ที่จะมีผลกระทบตอวิถีชีวิต
              ของคนสวนใหญในพื้นที่ (Local participation)

                                  - มุงใชวัสดุและผลิตภัณฑในทองถิ่น (Local product)
                                  - เนนกระจายรายไดสูทองถิ่น
                                  - คุณคาของสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมนั้นเปนคุณคาที่มีอยูในตัวเอง
                                  - การปรับตัวเปลี่ยนแปลงนั้นเปนสิ่งจําเปน แตทั้งนี้ตองไมขัดกับหลักการดังกลาวขางตน

                                  - ภาคธุรกิจการทองเที่ยว องคกรดานสิ่งแวดลอมและรัฐมีหนาที่จะตองทํางานรวมกันอยางเสมอภาค
              และวางอยูบนหลักการขางตน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20