Page 13 - โครงงานประดิษฐ์E-book
P. 13

2. หลักการใชประโยชนทรัพยากรประมงอยางยั่งยืน ทรัพยากรประมงเปนทรัพยากรที่มีลักษณะเฉพาะตัว คือเปนสา

              ธารณสมบัติ  (Commen  Property)  ดังนั้นทุกคนจึงมีเสรีภาพในการที่จะเขาไปเก็บเกี่ยวใชประโยชนจากทรัพยากรนี้
              สําหรับขอเสนอในการควบคุมการใชทรัพยากรประมงก็คือ  การควบคุมอาชญาบัตรประมง  เปนตน  นอกจากนี้การ
              อนุรักษทรัพยากรประมงที่สําคัญอีกประการหนึ่ง   ก็คือการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตในทะเล

              โดยจะตองคุมครองใหสิ่งมีชีวิตเหลานั้นสามารถสืบทอดลูกหลานตอไปได  ดังนั้นในการอนุรักษทรัพยากรการประมงจึง
              จําเปนตองศึกษาและกําหนดอาณาเขตพรอมทั้งควบคุมการใช ประโยชน พื้นที่ดังกลาวใหเหมาะสมอีกดวย
                             3.   หลักการทําการเกษตรแบบยั่งยืน ปจจัยที่มีผลใหเกิดระบบเกษตรแบบยั่งยืน มี 2ประการ คือ
                                  - ความหลากหลายทางชีวภาพ (Diversity) ของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตวที่อาศัยอยูในระบบนิเวศเกษตร

              (Agro-ecosystem) นั้นๆ
                                  - ความผสมกลมกลืน ((Harmonization) โดยอาศัยความหลากหลายที่เกิดขึ้นในระบบเกษตรนั้น จะตอง
              มีความผสมกลมกลืนกัน  ในการอาศัยพึ่งพาเกื้อกูลซึ่งกันและกันภายใต  สถานการณปจจุบันเกษตรกรจึงตองเผชิญหนา
              กับปญหาความเสื่อมโทรมของดินปญหาวัชพืช ปญหาโรคพืชและแมลงศัตรูพืช ดังนั้นการปรับเปลี่ยนแบบแผนการผลิต

              โดยสรางความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบการผลิตและระบบนิเวศเกษตรจึงมีความจําเปน ดังนั้นระดับที่เกษตรกร
              แตละรายปรับเปลี่ยนไดก็จะแตกตางกันไป  บางรายอาจจะนําแบบแผนเกากลับมาใชได  บางรายอาจจะปรับสูระบบ
              เกษตรผสมผสานที่มีกิจกรรมเพาะปลูกและเลี้ยงสัตวที่เกื้อกูลกัน มีการปรับพื้นที่ เชน ยกรอง  ขุดบอปลามีการทําสวน
              ผลไม ปลูกผัก และเลี้ยงสัตว รวมถึงการทํานาในอาณาบริเวณที่ใกลเคียงกัน บางรายที่มีขอจํากัดในการปรับพื้นที่ และไม

              พรอมที่จะเลี้ยงสัตว  ก็อาจจะใชระบบวนเกษตร  ซึ่งอาศัยการพึ่งพากันระหวางพืชและเนนความหลากหลายของพืชเปน
              หลัก
                            4. หลักการพัฒนาอุตสาหกรรมแบบยั่งยืน วิธีการลดมลพิษในระบบการผลิตนั้น อาจทําไดดังนี้

                                  -การจัดการที่ดีในการควบคุมตรวจสอบการทํางานของระบบการผลิตใหเกิดของเสียนอยที่สุด
                                  - เปลี่ยนวัสดุการใชหรือปจจัยการผลิต หรือเปลี่ยนสูตรการผลิตที่กอมลพิษ
                                  - ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรการผลิตประสิทธิภาพสูงขึ้น
                                 -หมุนเวียนนําวัสดุกลับมาใชใหมจากของเสียอุตสาหกรรมในประเทศไทยปญหาในการกําจัดของเสียจาก
              โรงงานอุตสาหกรรมก็ยังคงมีอยู  เพราะวาเปนคาใชจายที่สูงมาก  เงื่อนไขที่สําคัญที่จะนําไปสูการพัฒนาอุตสาหกรรม

              แบบยั่งยืน คือความสามารถทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของไทยที่จะจัดการของเสียของตนเอง เพื่อลดความจําเปน
              ในการนําเขาเครื่องจักรกลและเทคโนโลยีราคาแพงจากตางประเทศลง
                             5.  หลักการใชพลังงานอยางยั่งยืน ทุกๆ สวนในสังคมจะตองรวมกันหามาตรการและเปนผูดําเนินการใช

              พลังงานอยางประหยัด
                             6.  หลักการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหยั่งยืน การควบคุมการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติที่
              ประสานกลมกลืนกับธรรมชาติ เปดโอกาสใหกลไกของธรรมชาติดําเนินไปไดอยางตอเนื่อง โดยสามารถรักษาความ
              หลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้นใหดํารงอยูได ในการใชทรัพยากรอยางยั่งยืน จะตองคํานึงถึงการยอยสลายใน

              ระบบนิเวศดวย เพราะกระบวนการยอยสลายจะเปนกระบวนการสําคัญในการทําใหทรัพยากรเหลานั้นไดรับการ
              หมุนเวียนกลับมาใชใหมจึงเปนเรื่องจําเปนที่รัฐบาลจะตองกําหนดแนวทางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหชัดเจน
              โดยจําแนกทรัพยากรตามศักยภาพการใชประโยชนและคุณคาทางนิเวศวิทยาถาเราสามารถใชทรัพยากรอยางยั่งยืน เรา
              ก็จะสามารถมีชีวิตอยูรวมกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ไดอีกมาก ความอุดมสมบูรณของแมน้ําและดิน ความสดชื่นของอากาศและ

              ความสวยงามตามธรรมชาติก็คงจะหวนกลับมาและอยูกับลูกหลานของเราไดตอไป
                             7. การพัฒนาการทองเที่ยวแบบยั่งยืน หมายถึงการพัฒนาที่สามารถตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยว
              และผูเปนเจาของทองถิ่นในปจจุบัน โดยมีการปกปองและสงวนรักษาโอกาสตางๆ ของอนุชนรุนหลังดวย การทองเที่ยวนี้
              มีความหมายรวมถึงการจัดการทรัพยากรเพื่อตอบสนองความจําเปนทางเศรษฐกิจ  สังคมและความงามทางสุนทรียภาพ

              ในขณะที่สามารถรักษาเอกลักษณทางวัฒนธรรมและระบบนิเวศดวย  โดยแนวทางการสรางกรอบนโยบายและแนวทาง
              ปฏิบัติดังนี้
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18