Page 18 - แห่งการเรียนรู้ นิทรรศรัตนโกสินทร์
P. 18

นาฏยศัพท์ ท่ารัก





























                       หลักฐานศิลาจารึกหลักที่  ๑  ของพ่อขุนรามค าแหงมหาราช  ได้กล่าวถึงค าว่า  “ระบ า  ร า  เต้น”

               สันนิษฐานว่าไทยเรามีรูปแบบการแสดงและนาฏศิลป์มาตั้งแต่ก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อถึงสมัยพระเจ้าอยู่หัว

               บรมโกศแห่งกรุงศรีอยุธยา เป็นยุคที่นาฏศิลป์ได้รับความนิยมและมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง  และมีบทบาท
               ส าคัญในการวางรากฐานนาฏศิลป์ที่เป็นแบบแผนทั่วประเทศจนถึงปัจจุบัน  โดยได้รับอิทธิพลจากอินเดียเป็น

               หลัก ได้แก่ แนวคิดทางนาฏศิลป์ วงดนตรีปี่พาทย์ วิธีการแสดง ความสัมพันธ์ทางบทละคร และลีลาการร่ายร า

               เช่น นาฏยศัพท์
                       นาฏยศัพท์ทางด้านนาฏศิลป์ไทย   เป็นศัพท์ที่เรียกกันเฉพาะทางนาฏศิลป์เท่านั้น ซึ่งเป็นลักษณะที่

               เรียกท่าทางต่างๆ ในการแสดง  หรือการฝึกซ้อม บางครั้งเราไม่สามารถแสดงความรู้สึกอารมณ์หรือพูดออกมา

               ได้โดยตรง  จึงจ าเป็นต้องใช้ภาษาท่ามาช่วย  เพื่อท าให้ผู้ชมมองเห็นภาพและเข้าใจความรู้สึกของผู้แสดง เข้าใจ
               ได้ง่ายขึ้น

                       ท่ารัก  เป็นการท ามือทั้งสองตั้งวงไขว้กันระดับอก   แล้วหมุนข้อมือทาบลงที่ฐานไหล่
















                                                          8-17
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23